ตำรวจที่ดี : พุทธปรัชญาเชิงวิเคราะห์
คำสำคัญ:
ตำรวจ, พุทธปรัชญา, การพัฒนากาย วาจา และใจบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาลักษณะของตำรวจที่ดี และ 2) เพื่อสร้างรูปแบบของตำรวจที่ดี จากการศึกษา พบว่า ลักษณะของตำรวจที่ดีคือเป็นผู้ที่มีศักยภาพในการพัฒนากาย วาจา และใจเพื่อการทำงานในหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบตามหลักพุทธปรัชญาที่ประกอบด้วยหัวข้อใหญ่ 8 ประการ และหัวข้อย่อยอีก 43 ประการ
References
กองบัญชาการศึกษา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. (2555). คู่มือเสริมสร้างการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม และจรรยาบรรณของตำรวจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตำรวจ.
เกียรติพงษ์ มีเพียร, พ.ต.อ. (พิเศษ), รศ.ดร. (2545). คุณธรรมและจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานสอบสวน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตำรวจ.
ประเสริฐ เกสรมาลา, พล.ต.ต. (2547). ตำรวจและสังคมเสริมประสบการณ์. กรุงเทพฯ: สูตรไพศาล.
ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์, ร.ต.อ. (2528). สามมิติของตำรวจไทยในทศวรรษใหม่. กรุงเทพฯ: สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ (45 เล่ม) [ออนไลน์].
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2546). พระไตรปิฎก สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้. กรุงเทพฯ: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2555). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2528). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2539). พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2530). พระไตรปิฎกวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: ช่อมะไฟ.
แสง จันทร์งาน. (2540). วิธีการสอนของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
องอาจ ทรายทอง, ร.ต.ท. และชัยวัฒน์ โลหะเวช, ร.ต.ท. (2531). จริยธรรมหลักสูตรนักเรียนพลตำรวจ. กองบัญชาการศึกษา: โรงพิมพ์ตำรวจ.
อมร รักษาสัตย์ และคนอื่น ๆ. (2546). จริยธรรมในวิชาชีพตำรวจ. กรุงเทพฯ : ชวนการพิมพ์.
คฑาวุธ พรหมายน. (2545). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองตรวจคนเข้าเมือง 2 : ศึกษาเฉพาะกรณี ข้าราชการตำรวจฝ่าย 1 และฝ่าย 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ตวงเพชร สมศรี. (2556). วิธีการพัฒนาจริยธรรมของข้าราชการตำรวจเชิงพุทธบูรณาการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. อ้างในวารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2558.
นพดล เทียนเพิ่มพูน, พ.ต.ท. (2546). การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักเรียนนายร้อยตำรวจ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันราชภัฏนครปฐม.
ฟื้น พระคุณ. (2543). ปัจจัยที่มีต่อคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สังกัดตำรวจภูธรจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วรพันธ์ ทองหมัน, ดาบตำรวจ. (2552). การนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการปราบปราม. สารนิพนธ์ปริญญาศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
สำเภา วอนยิน, ดาบตำรวจ. (2557). การประยุกต์ใช้หลักพุทธปรัชญาในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 7 จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
P.V. Bapat. (1937). Vimuttimagga and Visuddhimagga : A Comparative Study. Poona: The Culcutta Oriental Prees.
Rhys davids. and stete. (1966). The Pali Text Society’s Pali – English Dictionary. London: The Pali text Society.
http://www.84000.org/tipitaka/dic/index_dd.php
http://www.buddhistelibrary.org/th/thumbnails.php?album=136
เกียรติพงษ์ มีเพียร, พ.ต.อ. (พิเศษ), รศ.ดร. (2545). คุณธรรมและจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานสอบสวน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตำรวจ.
ประเสริฐ เกสรมาลา, พล.ต.ต. (2547). ตำรวจและสังคมเสริมประสบการณ์. กรุงเทพฯ: สูตรไพศาล.
ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์, ร.ต.อ. (2528). สามมิติของตำรวจไทยในทศวรรษใหม่. กรุงเทพฯ: สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ (45 เล่ม) [ออนไลน์].
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2546). พระไตรปิฎก สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้. กรุงเทพฯ: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2555). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2528). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2539). พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2530). พระไตรปิฎกวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: ช่อมะไฟ.
แสง จันทร์งาน. (2540). วิธีการสอนของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
องอาจ ทรายทอง, ร.ต.ท. และชัยวัฒน์ โลหะเวช, ร.ต.ท. (2531). จริยธรรมหลักสูตรนักเรียนพลตำรวจ. กองบัญชาการศึกษา: โรงพิมพ์ตำรวจ.
อมร รักษาสัตย์ และคนอื่น ๆ. (2546). จริยธรรมในวิชาชีพตำรวจ. กรุงเทพฯ : ชวนการพิมพ์.
คฑาวุธ พรหมายน. (2545). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองตรวจคนเข้าเมือง 2 : ศึกษาเฉพาะกรณี ข้าราชการตำรวจฝ่าย 1 และฝ่าย 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ตวงเพชร สมศรี. (2556). วิธีการพัฒนาจริยธรรมของข้าราชการตำรวจเชิงพุทธบูรณาการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. อ้างในวารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2558.
นพดล เทียนเพิ่มพูน, พ.ต.ท. (2546). การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักเรียนนายร้อยตำรวจ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันราชภัฏนครปฐม.
ฟื้น พระคุณ. (2543). ปัจจัยที่มีต่อคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สังกัดตำรวจภูธรจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วรพันธ์ ทองหมัน, ดาบตำรวจ. (2552). การนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการปราบปราม. สารนิพนธ์ปริญญาศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
สำเภา วอนยิน, ดาบตำรวจ. (2557). การประยุกต์ใช้หลักพุทธปรัชญาในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 7 จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
P.V. Bapat. (1937). Vimuttimagga and Visuddhimagga : A Comparative Study. Poona: The Culcutta Oriental Prees.
Rhys davids. and stete. (1966). The Pali Text Society’s Pali – English Dictionary. London: The Pali text Society.
http://www.84000.org/tipitaka/dic/index_dd.php
http://www.buddhistelibrary.org/th/thumbnails.php?album=136
Downloads
เผยแพร่แล้ว
30-12-2017
How to Cite
ฉบับ
บท
บทความวิชาการ