บทวิจารณ์หนังสือเรื่องแก่นเดิมของพุทธปรัชญา (เล่มที่หนึ่ง : มนุษย์) เขียนโดย ศาสตราจารย์ ดร.สมภาร พรมทา

ผู้แต่ง

  • สถิระ ราชรินทร์ วิทยาลัยชุมชนน่าน

คำสำคัญ:

เถรวาทและมหายาน, พระพุทธเจ้า, วิชาการเชิงปรัชญา

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้ เป็นการวิจารณ์หนังสือเรื่องแก่นเดิมของพุทธปรัชญา (เล่มที่หนึ่ง : มนุษย์) เขียนโดยศาสตราจารย์ ดร.สมภาร พรมทา เป็นหนังสือประเภทแนวคิดปรัชญาดั้งเดิมของพระพุทธเจ้าก่อนที่จะมีเถรวาทและมหายาน ผู้วิจารณ์ได้แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ ดังนี้ ด้านความคิด ผู้แต่งได้วางความคิดหลักๆ ว่าด้วยเรื่องแนวคิดพื้นฐานทางปรัชญาที่สำคัญๆ ของพระพุทธเจ้าในช่วงที่ยังทรงมีชีวิตอยู่ ด้านเหตุผล หนังสือเล่มนี้ผู้แต่งจะอธิบายเรื่องใด จะยกคำถามขึ้นมาก่อน การตั้งคำถามจะช่วยให้ผู้อ่านคิดคำตอบเองก่อน แล้วค่อยมาดูคำตอบของผู้เขียน ด้านภาษา หนังสือเล่มนี้เป็นงานวิชาการเชิงปรัชญาเนื่องจากตลอดทั้งเล่มนี้ผู้แต่งได้นำเสนอเนื้อหาที่ค่อนข้างจะเข้าใจได้ยาก

References

พระสมภาร สมภาโร. (2547). ธรรมะภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏก 2500. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊ค.

คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2559). . พิมพ์ครั้งที่ 2. ธรรมะภาคปฏิบัติ 7พระนครศรีอยุธยา: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2550). ประวัติพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมภาร พรมทา. (2560). แก่นเดิมของพุทธปรัชญา (เล่มที่หนึ่ง : มนุษย์). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บีพีเค พริ้นติ้ง.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-06-2018