วิเคราะห์แนวคิดและปรัชญาของศรีออโรพินโทและสวามี วิเวกานันทะ
คำสำคัญ:
แนวคิดและปรัชญา, ศรีออโรพินโท, สวามี วิเวกานันทะบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้ สรุปได้ว่า แนวคิดและปรัชญาของศรีออโรพินโทได้รับอิทธิพลจากระบบปรัชญาแบบเดิมและวรรณคดีตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ เป็นปรัชญาเชิงวิเคราะห์ เป็นจิตนิยม บูรณนิยม บูรณวาท หรือ อทวินิยม ส่วนแนวคิดและปรัชญาของสวามี วิเวกานันทะได้รับอิทธิพลมาจากปรัชญาเวทานตะและคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา อภิปรัชญาของท่านเป็นจิตนิยม เพราะถือว่าความจริงเป็นเรื่องของจิต แต่จิตกับวัตถุ ยังอิงอาศัยกันและกัน
References
กีรติ บุญเจือ. (2522). แก่นปรัชญาปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
เดือน คำดี. (2522). ปรัชญาตะวันตก. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2522). ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2530). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับสังคายนา. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2540). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
สุวรรณ เพชรนิล. (2534). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Sutham Shusatayasakul. (2541). Ethics. Graduate School, Mahamakut Buddhist University.
http://news.voicetv.co.th/world/97114.html, เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2560
เดือน คำดี. (2522). ปรัชญาตะวันตก. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2522). ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2530). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับสังคายนา. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2540). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
สุวรรณ เพชรนิล. (2534). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Sutham Shusatayasakul. (2541). Ethics. Graduate School, Mahamakut Buddhist University.
http://news.voicetv.co.th/world/97114.html, เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2560
Downloads
เผยแพร่แล้ว
28-12-2018
How to Cite
ฉบับ
บท
บทความวิชาการ