การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีเมตตาโดยการคบคนดี
คำสำคัญ:
การปรับเปลี่ยน, เมตตา, คนดีบทคัดย่อ
บทความนี้ผู้เขียนนำเสนอว่า “การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีเมตตาโดยการคบคนดี” เพื่อประโยชน์ต่อปัจเจกบุคคลจะได้มีที่พึ่งเป็นของตนเองคือเป็นบุคคลที่มีชีวิตที่สงบสุขภายใน และยังนำไปสู่การสร้างความกรุณาต่อผู้อื่นอีกด้วย แต่อย่างไรก็ตาม บางครั้งเป็นไปได้ยากที่ทุกคนจะสามารถดำรงตนอยู่อย่างมีหลักเมตตาธรรมในจิตของตนเองได้ จำเป็นที่จะต้องมีผู้อื่นคอยแนะนำ กล่าวเตือน นั่นก็คือ การคบคนดีหรือการมีกัลยาณมิตรอยู่เคียงข้าง
References
คณะกรรมการแผนกตำรา มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2547). พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 6. นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
บุญมี แท่นแก้ว. (2539). จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ปิ่น มุทุกันต์. (2526). บันทึกธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คลังวิทยา.
ปิ่น มุทุกันต์. (2514). แนวสอนธรรมะ ตามหลักสูตรนักธรรมตรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คลังวิทยา.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). ธรรมคือสิ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ธรรมสภา.
พันตรี ป. หลงสมบุญ. (2540). พจนานุกรม มคธ-ไทย. กรุงเทพฯ : อาทรการพิมพ์.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาจันทบุรีนฤนาถ. (2520). ปทานุกรมบาลี ไทย อังกฤษ สันสกฤต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ สมฺมาปญฺโ). (2548). ฉันเข้าใจสรรพสิ่งเพราะฉันรัก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ออฟเซทครีเอชั่น.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2550). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดศัพท์วิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง.
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2554). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 20.กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (ชำระ-เพิ่ม ช่วงที่ 1/ยุติ). พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ : บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
พระมหาโมคคัลลานะ (ผู้รจนา). (2547). คัมภีร์อภิธานวรรณนา, พระมหาสมปอง มุทิโต (แปลและเรียบเรียง), พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง จำกัด.
พระสัทธัมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2525). ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหะฎีกา ปริเฉทที่ 5 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สุทธิสารการพิมพ์.
พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร์ สระคำ) และ รศ.ดร. จำลอง สารพัดนึก. (2530). พจนานุกรมบาลี-ไทย ฉบับนักศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2539. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑุฒโน). (2530). หลักพระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย.
หลวงวิจิตรวาทการ. (2518). ศาสนาสากล เล่ม 3. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ลูก ส.ธรรมภักดี.
http://oknation.nationtv.tv/blog/pierra/2007/07/31/entry-1. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2559.
http://www.mcu.ac.th/En/thesiscontent_desc.php?ct=1&t_id=2. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2559.
บุญมี แท่นแก้ว. (2539). จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ปิ่น มุทุกันต์. (2526). บันทึกธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คลังวิทยา.
ปิ่น มุทุกันต์. (2514). แนวสอนธรรมะ ตามหลักสูตรนักธรรมตรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คลังวิทยา.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). ธรรมคือสิ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ธรรมสภา.
พันตรี ป. หลงสมบุญ. (2540). พจนานุกรม มคธ-ไทย. กรุงเทพฯ : อาทรการพิมพ์.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาจันทบุรีนฤนาถ. (2520). ปทานุกรมบาลี ไทย อังกฤษ สันสกฤต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ สมฺมาปญฺโ). (2548). ฉันเข้าใจสรรพสิ่งเพราะฉันรัก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ออฟเซทครีเอชั่น.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2550). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดศัพท์วิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง.
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2554). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 20.กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (ชำระ-เพิ่ม ช่วงที่ 1/ยุติ). พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ : บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
พระมหาโมคคัลลานะ (ผู้รจนา). (2547). คัมภีร์อภิธานวรรณนา, พระมหาสมปอง มุทิโต (แปลและเรียบเรียง), พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง จำกัด.
พระสัทธัมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2525). ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหะฎีกา ปริเฉทที่ 5 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สุทธิสารการพิมพ์.
พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร์ สระคำ) และ รศ.ดร. จำลอง สารพัดนึก. (2530). พจนานุกรมบาลี-ไทย ฉบับนักศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2539. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑุฒโน). (2530). หลักพระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย.
หลวงวิจิตรวาทการ. (2518). ศาสนาสากล เล่ม 3. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ลูก ส.ธรรมภักดี.
http://oknation.nationtv.tv/blog/pierra/2007/07/31/entry-1. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2559.
http://www.mcu.ac.th/En/thesiscontent_desc.php?ct=1&t_id=2. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2559.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
03-05-2019
How to Cite
ฉบับ
บท
บทความวิชาการ