ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย

ผู้แต่ง

  • พระมหาธนาวุฒิ จตฺตมโล นักศึกษา รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • สัญญา เคณาภูมิ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, กลยุทธ์, ผู้บริหารมหาวิทยาลัย

บทคัดย่อ

ภาวะผู้นำกลยุทธ์ นับว่าเป็นบุคคลที่มีบทบาทมากที่สุดในการบริหารด้านการศึกษาของมหาวิทยาลัย ผู้บริหารยุคใหม่ต้องเป็นผู้นำที่ทันสมัยทันเหตุการณ์ เป็นผู้นำมีการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้นำการปฏิรูปการการศึกษา ผู้นำจะต้องมีองค์ประกอบหลักได้แก่ (1) มิติคุณลักษณะ ผู้นำจะต้องมีร่างกาย มีบุคลิกภาพ มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ (2) มิติพฤติกรรม การมีสติปัญญาดีนั้นสามารถแก้ปัญหาได้โดยสำเร็จ (3) มิติเชิงปฏิรูป/เชิงสถานการณ์ สถานการณ์แก้ไขปัญหาได้ดี (4) มิติการเปลี่ยนแปลง คือ “ต้องเปลี่ยนแปลงตัวเอง” มีความคิดอันก่อให้เกิดปัญญา

References

ลยรัตน์ เมืองสง. (2550). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์การบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 9 ฉบับที่ 2.

เชิดชัย อุดมพันธ์. (2554). ความกล้าหาญคือคุณสมบัติของผู้นำ. บทความในวาระสารรูสมิลแล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาลัยเขตปัตตานี ปีที่ 32 ฉบับที่ 3.

บูรชัย ศิริมหาสารคร. (2561). วิสัยทัศน์เป็นศัพท์เฉพาะศาสตร์ (Technical Term). https://backranza.blogspot.com/2013/01/blog-post_1417.html. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2561.

พิรุณ รัตนวณิช. (2545). คุณภาพบริการด้านสาธาณสุขสำหรับพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 28. กรุงเทพฯ: มายด์พับลิชชิ่ง.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สัญญา เคณาภูมิ. (2561). แนวทางการจำแนกข้อมูลเชิงคุณภาพ เพื่อสังเคราะหงานวิชาการ. วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1.

สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2551). ภาวะผู้นำ ทฤษฎีและปฏิบัติ : ศาสตร์และศิลป์สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: วิรัตน์เอ็ดดูเคชั่น.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-05-2019