คุณค่ามนุษย์แบบอัตวิสัยในมหาสติปัฏฐานสูตร
คำสำคัญ:
คุณค่ามนุษย์, อัตวิสัย, มหาสติปัฏฐานสูตรบทคัดย่อ
บทความนี้กล่าวถึงคุณค่าความเป็นมนุษย์ด้วยการมองจากแนวคิดของทั้ง 2 แนวคิดโดยมีแนวคิดทาง อัตวิสัย ที่กล่าวถึงสิทธิที่ทุกคนมีซึ่งเป็นสิทธิทางธรรมชาติที่จะปฏิบัติตามใจของตนเองแต่ขณะเดียวกันก็มองว่าคุณค่านั้นเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในตัวมนุษย์ เพียงแต่ต้องการวิธีการฝึกฝนและอบรมให้คุณค่านั้นเกิดขึ้น จึงถือได้ว่าเป็นการให้คุณค่าความเป็นมนุษย์ได้
คุณค่ามนุษย์ในมหาสติปัฏฐานสูตรฺมีการพิจารณาอยู่ 4 ประการ คือ การพิจารณากาย การพิจารณาเวทนา การพิจารณาจิต และการพิจารณาธรรม เพื่อเป็นการเข้าถึงความจริงและความมีคุณค่าในการปฏิบัติตามหลักของมหาสติปัฏฐานสูตร อันเป็นหลักในการกล่าวถึงคุณค่าของมนุษย์ ตามแนวคิดของทั้ง 2 แนวคิดนี้มีความสอดคล้องกันในเรื่องของการมองที่ตนเองเป็นหลัก
References
จำนงค์ ทองประเสริฐ. (มปป). จริยศาสตร์และจริยธรรมเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2549). ปรัชญากับวิถีชีวิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระธรรมปิฏก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2543). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2532). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์.
วิทย์ วิศทเวทย์. (มปป). จริยศาสตร์เบื้องต้น มนุษย์กับปัญหาจริยธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
สุวรรณา สถาอานันท์. (มปป). กระแสธารปรัชญาจีน : ข้อโต้แย้งเรื่องธรรมชาติอำนาจและจารีต. กรุงเทพฯ : สยามปริทัศน์.
Edward Westemarck. (2003). Ethics Are Relative, in lntroduction to Ethical Studies an Open Source Readar. Ed by Lee Archie John G. Archie, August 2003.