พื้นฐานปรัชญาสังคมและการเมืองเพื่อรัฐประศาสนศาสตร์

ผู้แต่ง

  • พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม Mahachulalongkornrajavidyalaya University

คำสำคัญ:

รูปแบบทางสังคม, ปรัชญาการเมือง, รัฐประศาสนศาสตร์

บทคัดย่อ

การศึกษาแนวคิดพื้นฐานปรัชญาสังคมและการเมืองเพื่อรัฐประศาสนศาสตร์ เป็นการศึกษาความหมายแนวคิดทางปรัชญาที่มีความสำคัญต่อสังคมในเชิงปฏิบัติ และมีผลต่อเนื่องจนถึงการบริหารในระบบของการเมืองการปกครอง ที่เป็นพื้นฐานทางปรัชญาก็เพื่อศึกษาปรัชญาการปกครองในทัศนะของนักปรัชญาต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเมืองการปกครองของประเทศ

ดังนั้น นักปรัชญาตะวันตกจึงให้ความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องปรัชญาการปกครองเป็นหลักสำคัญ  เช่น หลักการปกครองและการเป็นผู้ปกครองของนักปรัชญา เช่นอาริสโตเติล กล่าวว่า การปกครองเน้นที่ความสงบสุขของประชาชนเป็นหลัก รูปแบบการปกครองแต่ละรูปแบบนั้นไม่มีความเท่าเทียมกันเพราะขึ้นอยู่กับการบริหารของผู้ปกครองว่ามีการใช้หลักปรัชญาสังคมและการเมืองเพื่อสอดรับกับแนวคิดที่จะปรับใช้รูปแบบใดเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมอย่างแท้จริง

References

Chamnong Thogprasert. (1975). Western Philosophy. Bangkok: Phraepittaya.

Chari Benny Hendrix Rd. (2003). "The Political System 1" Course on Human Subjects with the Society. Unit 1 – Article 7. Nonthaburi: Sukhothai thammathirat Open University.

Prayoon. (1996). Ethics. Bangkok: Odeonstone.

Prayoon. (2001). Greek Philosophy: the State of Western Wisdom. Bangkok: Shine Siam.

P.Payutto. (2003). Dictionary. Bangkok: Mahachulalongkorn Printing Press.

Reading month. (1979). Good Words, Western Philosophy. Department of Philosophy and Religion Faculty of Social Sciences Kasatsart University.

SAB. (1977). Political Philosophers. Bangkok: Thaiwattanapanich Ltd.

S.E. Frost. (1951). Basic Teaching of the Great Philosophers. New York: Barnes & Noble, Inc.

Vasin Inthasara. (2001). Ethics. Bangkok: Dhammada.

Vatsasyayan. (1974). Metaphysice and General Philosophy. Murut : Nauynantar Press.

English-Thai New Dictionary. (1957). Bangkok: Thaiwattanapanich Ltd.

Standard College Dictionary. (1953). New York : Harcont, Brace & world.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-12-2020