รัฐศาสตร์ในพุทธศาสตร์
คำสำคัญ:
พุทธศาสตร์, รัฐศาสตร์, การปกครองบทคัดย่อ
การอธิบายพระพุทธศาสนาในประเด็นของรัฐศาสตร์ เป็นการอธิบายหลักการของพระพุทธศาสนาที่เชื่อมโยงหรือเกี่ยวพันกับการปกครองหรือการบริหารการปกครองของพุทธโดยสามารถมองได้ 3 ประเด็นดังนี้คือ 1) รูปแบบการปกครอง 2)หลักการบริหารในองค์กรสงฆ์ อันได้แก่ การรับบุคคลเข้าในองค์กร แต่งตั้งบุคคลเข้าทำงานในองค์กร หลักการตัดสินลงโทษผู้กระทำผิดบุคคลในองค์กร 3) แนวคิดทางการเมืองโดยผ่านหลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนาในพระไตรปิฎก ทั้ง 3 การนี้ เป็นหลักการที่มีอยู่ในพระพุทธศาสนา ซึงหลักการดังกล่าวเป็นหลักการที่ทำให้บุคคลที่อยู่ในองค์กรได้รับความยุติธรรมและทำให้เกิดความสุขสงบขององค์กรสงฆ์และสังคมที่นับถือพระพุทธศาสนา
References
กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, (2514)พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง,กรุงเทพฯ:กรมการศาสนา.
คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง, (2546) หนังสือบูรณาการแผนใหม่ นักธรรมชั้นตรี,กรุงเทพฯ:เลี่ยงเชียง.
คณาจารย์แห่งโรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, (2536) วินัยมุข เล่ม 3 ฉบับมาตรฐาน กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง.
ธรรมเจริญ,(2543) ธรรมศึกษาตรี กรุงเทพฯ: กลุ่มวิชาการพระพุทธศาสนาและจริยศึกษา กองศาสนศึกษา กรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ.
ปรีชา ช้างขัวญยืน, (2538) แนวคิดทางการเมืองในพระไตรปิฎก,กรุงเทพฯ:มหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรีชา ช้างขวัญยืน,(2540) ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา กรุงเทพฯ: สามัคคีสาสน์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.
ภาวดี มหาขันธ์,(2524) ประวัติศาสตร์การปกครองไทย บางแสน: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (2551)การปกครองคณะสงฆ์ไทย กรุงเทพฯ:มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (2539) พระสุตตันตปิกฏ ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 4 ภาค 1 กรุงเทพฯ:มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.