การบริหารการการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมทางการศึกษา "ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์" เพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนเมืองพัทยา 11 (มัธยมสาธิตพัทยา)
คำสำคัญ:
สื่อการจัดการเรียนการสอน, การสร้างสื่อภาพยนตร์ประวัติศาสตร์, นวัตกรรมทางการศึกษาบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษา “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์” เพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2)เปรียบเทียบทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมทางการศึกษา “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ 3)เปรียบเทียบการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ หลังการการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมทางการศึกษา “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และ 4)ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมทางการศึกษา “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ เพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1โรงเรียนเมืองพัทยา 11 (มัธยมสาธิตพัทยา) สังกัดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี จำนวน 40 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์” เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่แบบทดสอบวัดทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์ แบบทดสอบวัดการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ (เกี่ยวกับ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์) และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมทางการศึกษา “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าสถิติที (t-test)
ผลการวิจัยพบว่า
1. แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมทางการศึกษา “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ มีประสิทธิภาพ (E 1 /E 2 ) เท่ากับ 82.75/83.54 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้เรียนด้วยวิธีการการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมทางการศึกษา “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ มีทักษะการคิดทางด้าน คุณธรรม จริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 การจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมทางการศึกษา “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ มีทักษะการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมทางการศึกษา “ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.16, SD.= 0.23)
References
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2565). การพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แนวคิด คอนสตรัคติวิสต์หัวข้อทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษาสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 14(2). 80-106.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, วีรเทพ ชลทิชา, วัชร์ธิดา ศิริวัฒน์, ปรีญา ศรีจันทร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4เรื่องห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) โดยใช้สื่อวิดีโอ (VDO) ผ่านแอปพลิเคชั่นสําหรับเรียนรู้ผ่านวีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์. วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 30(2). 25-38
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, วารินทร์ อิทธิพล, ทรงยศ เพ็ญศิริ, ขวัญเดือน พรหมศร. (2565). การพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้เรื่องโคกหนองนาโมเดล ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ในกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำโรง โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต. 1(1). 1-16.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ชัชวนันท์ จันทรขุน, จิรวดี เหลาอินทร์, พรทิพย์ คุณธรรม, มนัสชนก ยุวดี. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาช่วยสอนในวิชาภาษาไทยเรื่อง หลักการใช้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดแจ้งลำหิน (พูนราษฎร์อุปถัมภ์) อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 15(2). 49-63.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ทรงชัย ชิมชาติ, หยาดพิรุณ แตงสี, อมรเทพ สมคิด, ชาญวิทย์ อิสรลาม. (2565). การพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้เรื่องโคกหนองนาโมเดล ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ในกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำโรง โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต. 1(1). 47-58.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, จุฑารัตน์ นิรันดร, ณัฐวุฒิ อัตตะสาระ, ปิยพัทธ์ สุปุณณะ, จันทนา มุกดาศุภณัฏฐ์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ "ตู้เทคโนโลยีดิจิทัลอัจฉริยะ" เรื่อง การปฏิบัติตนตามบรรทัดฐานและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดพระขาว (ประชานุเคราะห์). วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์. [jmpr]. 5(2). 22-32.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, อภิสิทธิ์ ทุริยานนท์ อรอนงค์ โพธิจักร, อพิเชษฐกิจเกษม เหมิ, ปวีณา จันทร์ไทย. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E -Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจิ่นเต๊อะแก่งคอย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 14(2). 28-42.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, แสงระวี จรัสน้อยศิริ, สุรพล หิรัญพต, แก้วใจ พิชชามณฑ์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาบทเรียน M–Learning ร่วมกับรูปแบบการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง สถานที่สำคัญและแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสาครชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบางปลา. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ. 5(3). 28-40.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ชมภูนุช พัดตัน, กาญมณี เพ็ชรมณี, ณภาพัช ราโชกาญจน์, ศุภชัยรวมกลา กอบการณ์อาจประจันทร์. (2565). การบริหารงานวิชาการบทเรียนสําเร็จรูปของชั้นประถมศึกษาโรงเรียนบ้านหนองลุมพุก จังหวัดชัยภูมิ. วารสารครุทรรศน์ (Online). 2(3). 41-52.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, สุริยะ วชิรวงศ์ไพศาล, พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2564). การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลรายวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนระดับปริญญาตรีคณะบริหารธุรกิจ. วารสารศิลปศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 4(2). 427-442.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, อรอนงค์ พงษ์กลาง, มธุรส สกุลทอง, ปวันรัตน์ ทรงนวน, พัทธกฤษฏิ์สมจิตพันธโชติ อนุรุทธ์หรรษานนท์. (2565). ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้เรื่องระบบสุริยะบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคลองขวาง จังหวัดตราด. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 5(2). 26-38.
พรพิมล เพ็งประภา, กิตติยา คุณารักษ์. (2021). เรื่องเล่าพระพุทธเจ้าผจญมารในสื่อร่วมสมัย: การสืบทอดขนบวรรณคดีคำสอน. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 6(1), 756-768.
อุทิศ บำรุงชีพ. (2020). การประเมินความต้องการจำเป็นของครูภาคตะวันออกเพื่อการกำหนดประเด็น สาระการผลิตสื่อการเรียนทางไกลผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารการศึกษาและ การ พัฒนาสังคมมหาวิทยาลัย บูรพา, 15(1), 104-119.
เอกนรินทร์ คงชุม,ธนาดล สมบูรณ์,วีระ วงศ์สรรค์,ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแกะสลักผักและผลไม้ลายกุหลาบ โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลมะนัง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล เขต 1. วารสารวิจยวิชาการ. 6(1). 79-90.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 พุทธมัคค์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.