โรคระบาดโควิด 19: ยุทธศาสตร์การป้องกันเชิงพุทธบูรณาการบนฐานพุทธธรรม
คำสำคัญ:
โรคระบาด, การป้องกัน, กำหนดยุทธศาสตร์เชิงพุทธ, การบูรณาการอย่างยั่งยืนบทคัดย่อ
บทความเรื่อง “โรคระบาดโควิด 19: ยุทธศาสตร์การป้องกันเชิงพุทธบูรณาการบนฐานพุทธธรรม” เป็นการศึกษาสถานการณ์โรคระบาดไวรัสโควิด-19 ที่เกี่ยวโยงถึง พัฒนาการโรคระบาดในประเทศไทยและโลก โรคระบาดที่ปรากฎในพระไตรปิฎก การวิเคราะห์โรคเชิงพุทธแบบบูรณาการ การกำหนดรูปแบบและยุทธศาสตร์การปกป้องคุ้มครองเชิงพุทธและรูปแบบบูรณาการเพื่อการดำรงตนอย่างยั่งยืน สรุปได้ว่า “ประเทศไทยเป็นประเทศพุทธศาสนา หลักคำสอนของพุทธศาสนาไม่สอนให้คนเห็นแก่ตัว ตั้งอยู่บนฐานแห่งพรหมวิหารธรรม คือ ‘เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา’ เป็นฐาน และมีความเป็นชาติแห่งการรู้รักสามัคคีเป็นฐาน หลักพุทธธรรมเป็นหลักพื้นฐานที่ดำรงอยู่บนฐานแห่งเสียสละ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ แม้ในยามวิกฤตก็ไม่ทอดทิ้งกัน คนไทยมีฐานคติการดำเนินชีวิตการดำรงตนบนฐานพุทธธรรม ปราศจากการเอาเปรียบ และมีไมตรีต่อเพื่อนมนุษย์ ทุกคน โดย “การไม่ทำความชั่วทั้งปวง ทำความดีให้ถึงพร้อม และการทำจิตใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์อยู่ตลอดเวลา”
References
กมาตร จึงเสถียรทรัพน์. บรรณาธิการ. (2561). ปกิณกคดี 100 ปี การสาธารณสุขไทย. หอจดหมายเหตุ สาธารณสุขแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข.
กรมการศาสนา, กระทรวงศึกษาธิการ. (2525). พระไตรปิฏกภาษาบาลีฉบับหลวง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรมการศาสนา.
ขวัญชาย ดำรงขวัญ. (2559). UNSEEN กรมควบคุมโรค เส้นทางประวัติศาสตร์และความทรงจำ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยจัดการความรู้และมาตรฐานการควบคุมโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตโต). (2542). การแพทย์ยุคใหม่ในพุทธทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทธรรมสาร จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2550). วีธีคิดตามหลักพุทธธรรม. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระมหาจรรยา สุทฺธิญาโณ. (2544). พระพุทธศาสนากับการดูแลรักษาสุขภาพแบบองค์รวม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2548). พระไตรปิฎกภาษาไทยสยามรัฐ. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
.(2548). พระไตรปิฎกอรรถกถาภษาไทย 91 เล่ม. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
วิชิต เปานิล. (2546). พุทธกระบวนทัศน์เพื่อสุขภาพและการเยียวยาในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2552). “โรคห่า” ยุคพระเจ้าอู่ทอง คือ กาฬโรคจากเมืองจีน. มติชนรายวัน. ปีที่ 32 ฉบับที่ 11407 (3 มิถุนายน, 2552): คอลัมน์สยามประเทศไทย.
สุมน อมรวิวัฒน. (2531). คิดเปนตามนัยพุทธธรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (สปรส). (2546). สุขภาพทางจิตวิญญาณ สู่สุขภาพทางปัญญา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.
https://www.history.com/topics/middle-ages/pandemics-timeline.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 พุทธมัคค์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.