The Impact of fundamental resource management towards competitiveness of Thai plastic

Main Article Content

ชนันชิดา กิจประเสริฐ

Abstract

การศึกษาเรื่องการจัดการทรัพยากรพื้นฐานและการจัดการความรู้ที่มีผลต่อความสามารถ ในการแข่งขันของบริษัทในอุตสาหกรรมพลาสติกไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของทรัพยากร ขององค์กรและการจัดการความรู้ขององค์กรที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขันและนำไปสร้างสมการ ในการประเมินความสามารถทางการแข่งขันของบริษัทในอุตสาหกรรมพลาสติกไทย

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิธีการศึกษาทั้งการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ แบบสอบถามเปน็ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากบริษัทในกลุม่ อุตสาหกรรมพลาสติกในประเทศไทย ที่มีเงินทุนจดทะเบียนตั้งแต่ 50 ล้านบาทขึ้นไปจำนวนทั้งสิ้น 387 ราย แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยเทคนิค การวิเคราะหถ์ ดถอยพหุคูณ เมื่อไดผ้ ลการวิเคราะหข์ อ้ มูลเชิงปริมาณแลว้ ไดน้ ำผลไปสัมภาษณก์ ลุม่ (focus group) จากผู้ประกอบการเพื่อยืนยันผล แล้วจึงสรุปรวบรวมผลการวิจัยมาประมวลเป็นข้อเสนอแนะ

ผลการวิจัยพบว่า ทรัพยากรที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความสามารถในการแข่งขัน ได้แก่ ทรัพยากร มนุษย์ และทรัพยากรด้านการตลาด ส่วนการจัดการด้านความรู้ที่มีอิทธิพลในเชิงบวกต่อความสามารถ ในการแข่งขัน ได้แก่ การแสวงหาความรู้ การจัดเก็บความรู้ และการนำความรู้ไปใช้ ทรัพยากรที่ไม่มี อิทธิพลเชิงบวกต่อความสามารถในการแข่งขัน ได้แก่ ทรัพยากรด้านการเงิน และทรัพยากรด้านทรัพย์สิน ทางปัญญา ส่วนด้านการจัดการด้านความรู้ ก็คือ การพัฒนาและสร้างความรู้ใหม่ ส่วนทรัพยากร ทางกายภาพมีอิทธิพลเชิงลบต่อความสามารถในการแข่งขัน

การสร้างสมการในการพยากรณ์ความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการในกลุ่ม่อุตสาหกรรม พลาสติกในประเทศไทย ผู้วิจัยได้พัฒนาสมการที่ใช้ประเมินความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมพลาสติก โดยมีค่าความถูกต้องถึงร้อยละ 78.10 ดังนี้ ความสามารถในการแข่งขัน = 1.737 + 0.293* การแสวงหาความรู้ + 0.1* การนำความรู้ไปใช้ + 0.056* การมีทรัพยากรดา้ นการตลาด + 0.079* การจัดเก็บความรู  - 0.061* การมีทรัพยากรทางกายภาพ + 0.076* การมีทรัพยากรมนุษย์ จากผลการวิจัย สามารถสรุปเปน็ ขอ้ เสนอแนะตอ่ บริษัทในกลุม่ อุตสาหกรรมพลาสติกในประเทศไทย คือ 1) การเปลี่ยนทัศนคติให้เห็นความสำคัญของการพัฒนาและสร้างความรู้ใหม่ 2) สร้างค่านิยมในการ แบ่งปันความรู้ภายในอุตสาหกรรม 3) สถาบันการศึกษาและสถานประกอบการควรจะร่วมมือพัฒนา หลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาบุคลากร 4) เน้นการพัฒนาปรับปรุงปัจจัยด้านการแสวงหาความรู้ หรือองค์ประกอบอื่นๆ ด้านการจัดการความรู้ ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขันมากกว่า การพัฒนาปรับปรุงด้านทรัพยากรขององค์กร และ สุดท้ายก็คือ การนำสมการพยากรณ์ไปประยุกต์ใช้ ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เพื่อประเมินความสามารถในการแข่งขัน

 

The Impact of fundamental resource management towards competitiveness of Thai plastic

This research aimed to study the influence of fundamental resource management and knowledge management towards competitiveness of Thai Plastic Industry and establish the equation to evaluate the companies’ competitiveness.

Quantitative and Qualitative approaches were combined into this research to develop the tool to assess the competitiveness of the companies in Thai plastic industry.

In terms of quantitative approach, the questionnaires were collected from 199 samples of all 387 companies in Thai plastic industry that their registered capital is greater than or equal to 50 million baht. The data derived from the questionnaires were analyzed by multiple regression analysis.

The finding from quantitative approach was adapted to question a focus group as a qualitative approach to confirm the validity and reliability of the results.

The results are 1) the factors that influence positively on the enterprises’ competitiveness are Human resource management, Marketing resource management, Knowledge Acquisition, Knowledge storage, and Knowledge Implementation. 2) the factors that are no influence on the enterprises’ competitiveness are Financial resource management, Intellectual property resource management, and Knowledge development. 3) a factor that influence negatively on the enterprises’ competitiveness is Physical resource management. 4) the equation of prediction, that is derived from multiple regression technique, is as follow Competitiveness =1.737 + 0.293* Knowledge Acquisition+ 0.1* Knowledge Implementation + 0.056* Marketing resource management + 0.079* Knowledge storage - 0.061* Physical resource management + 0.076* Human resource management

And the adjusted R2 is 0.781

The recommendations for the enterprises are 1) the enterprises need to be changed their attitude and habit about Knowledge development to complete the Knowledge Management cycle. 2) The enterprises should establish the value in knowledge sharing to improve the potentiality of Thai plastic Industry in long run. 3) The educational institutes and the enterprises should cooperate in the development and improvement of the Thai education. 4) The enterprises should improve the factor of the knowledge management, especially knowledge acquisition, which will be more influence than the improvement on the factor of the fundamental resource management. Finally, the enterprises in another industrial sector may use the equation to evaluate their own competitiveness and their competitors’ competitiveness.

Article Details

Section
บทความวิจัย (research article)