Palm Leaf Manuscripts and the Process of Creating a Community Learning Center in Ancients Documents for a Heritage tourism of Wat Srichan Ban Na-Or Mueang District Loei Province, Thailand

Authors

  • Smai Wannaudorn อาจารย์ประจําภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Keywords:

Palm leaf manuscripts, A community learning center, Wat Srichan Ban Na-Or

Abstract

The aim of this article is to present the importance of palm leaf
manuscripts. These manuscripts will play an important role in process of
the creation of the community learning center in ancient documents for
the cultural heritage tourism which is in response to government policies.
This article will document the entire process of creating a community
learning center from start to finish, resulting in the inauguration of “The
community learning center in ancient documents, Wat Srichan”. The
three major issues outlined are the importance of the palm leaves
manuscripts and their relationship to local communities, the procedures
and processes, and the establishment of the community learning center
in ancient documents, Wat Srichan.

References

ก่องแก้ว วีระประจักษ์, 2545. สารนิเทศจากคัมภีร์ใบลานสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร.

ชนัญ วงษ์วิภาค, 2545. “ประโยชน์ของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพการจัดการการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชอบ เข็มกลัด และ โกวิทย์ พวงงาม, 2547. การวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมเชิงประยุกต์. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.

ทิพย์ หาศาสน์ศรี และ พิมพ์พรรณ เทพสุเมธานนท์, 2551. ภูมิปัญญาไทยกับการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ปฐม หงษ์สุวรรณ, 2557. รายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวพื้นที่พิเศษ. มหาสารคาม: สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศรีศักร วัลลิโภดม, พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2554.

ศิราพร ณ ถลาง, 2559. คติชนสร้างสรรค์: บทสังเคราะห์และทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

สมชาย นิลอาธิ, 2544. โลกทัศน์จากคัมภีร์ใบลาน: คติชนและวิถีชีวิต. เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการเรื่อง “การสํารวจสถานภาพองค์ความรู้จากคัมภีร์ใบลานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย.” มหาสารคาม, (อัดสําเนา).

สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธุ์, 2542. ต้นเค้า กำเนิดและวิวัฒนาการของอักษรและอักขรวิธีไท. เชียงใหม่: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมัย วรรณอุดร, 2547. มิติทางวัฒนธรรมจากคัมภีร์ใบลานภาคอีสาน ศึกษากรณีจังหวัดมหาสารคาม. มหาสารคาม: โครงการอนุรักษ์ใบลานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุจินต์ เพชรดี, 2543. 300 ปีแห่งการตั้งถิ่นฐานบ้านนาอ้อ อำเภอเมือง จังหวัดเลย (2236-2543). เลย: ม.ป.ท. (เอกสารอัดสําเนา).

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน), 2558. เรื่องเล่าชาวนาอ้อ: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของชุมชนนาอ้อและวิถีวัฒนธรรมชุมชนนาอ้อ. เลย: เมืองเลยการพิมพ์.

Downloads