การสร้างแบรนด์กิจกรรม (Event Brand) กรณีศึกษา กิจกรรมงานวิ่ง Bangsaen 21

ผู้แต่ง

  • สิญาทิพย์ เพี้ยนภักตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

การสร้างตราสินค้า, แบรนด์กิจกรรม, งานวิ่ง, บางแสน21

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเรื่อง การสร้างแบรนด์กิจกรรม (Event Brand) กรณีศึกษากิจกรรมงานวิ่ง Bangsaen 21 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างแบรนด์กิจกรรม และสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการสร้างแบรนด์กิจกรรมงานวิ่ง Bangsaen 21 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจาก 1. เอกสารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมงานวิ่ง Bangsaen 21 2. สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมงานวิ่ง Bangsaen21 และ 3.การสังเกตและสัมภาษณ์กลุ่มนักวิ่งและผู้มาชม ผลการวิจัยพบว่า

          งานวิ่ง Bangsaen 21 (บางแสน-ทเวนตี้วัน) มีกระบวนการสร้างตราสินค้า 3 ขั้นตอน คือ 1) วิเคราะห์กลยุทธ์ตราสินค้าโดยวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายและคู่แข่งผ่านประสบการณ์ตรงของ รัฐ จิโรจน์วณิชชากร และทีมวิ่ง 2) สร้างอัตลักษณ์ของงานวิ่ง คือ “งานวิ่งที่แสนสุขที่สุด” เป็นธีมหลักที่สร้างมาจากธีม “THE FINEST RUNNING EVENT EVER” โดยได้นำเสนอคุณค่าของตราสินค้าว่า “ท่านจะได้สัมผัสบรรยากาศการวิ่งเลียบชายหาด กินลม ชมลิง ที่แสนสุข..ที่สุด กับงานวิ่งฮาล์ฟมาราธอน Bangsaen21” และ “เป็นงานวิ่งที่ได้มาตรฐานระดับโลกในเมืองไทย” 3) กำหนดตำแหน่งตราสินค้า คือ “จัดงานวิ่งที่เป็น Hi-End ในแง่ของการบริการ” โดยยึดสร้างความสุขให้กับนักวิ่ง ผ่านการสื่อสารทั้งการประชาสัมพันธ์และกิจกรรมต่างๆ โดยงานวิ่ง Bangsaen 21 มีการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่ 1) สื่อบุคคล 2) สื่อหนังสือพิมพ์ 3) สื่อโทรทัศน์ 4) สื่อเฉพาะกิจ อาทิ กิจกรรมแถลงข่าว กิจกรรมงานเอ็กซ์โป สื่อโปสเตอร์ แก้วน้ำ และของที่ระลึก 5) สื่อใหม่ ได้แก่ เฟซบุ๊ก ชื่อ Bangsaen 21 , เว็บไซต์ https://www.bangsaen21.com, YouTube, Line, SMS และ E-Mail เป็นต้น

Author Biography

สิญาทิพย์ เพี้ยนภักตร์, คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อาจารย์สาขาการสื่อสารการตลาดดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562). คู่มือการจัดกิจกรรมวิ่งประเภทถนนของประเทศไทย. (ม.ป.ท.)

ขวัญชนก อดทน. (2555). การสร้างแบรนด์องค์กรบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ กรณีศึกษาหนังสือพิมพ์

กรุงเทพธุรกิจ. (ออนไลน์) วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. 118-124. เข้าถึงได้จาก https://www.east.spu.ac.th/journal/booksearch/upload/1398-018_brand.pdf (สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2563)

ทรงศักดิ์ รักพ่วง. (2562). การวิ่งมาราธอนในไทย : เครือข่ายทางสังคมและความท้าทายในศตวรรษที่ 21

(ออนไลน์) . วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 37(1), 8-17. เข้าถึงได้จาก http://romphruekj.krirk.ac.th/books/2562/1/01_37_1_ROMPHRUEK_JOURNAL.pdf

(สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2563)

ปฐมาพร เนตินันทน์. (2554). การสังเคราะห์กระบวนการและกลยุทธ์การสร้างตราสินค้า

(ออนไลน์) . วารสารนักบริหาร, 31(2), 36-50. เข้าถึงได้จากhttps://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/april_june_11/pdf/aw5.pdf

(สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2563)

ปิ่นปินัทธ์ จ่าดา. (2562). การทำแบรนด์ในยุคดิจิทัล. (ออนไลน์) วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม

ชลบุรี, 5(1) 67-73. เข้าถึงได้จาก https://www.chonburi.spu.ac.th/interdiscip/filepdf/201905241099129142.pdf

(สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2563)

แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข.

วิทวัส ชัยปาณี, ดลชัย บุณยะรัตเวช, ภาณุ อิงคะวัต, ต่อ สันติศิริ, ณรงค์ จิวังกูร, ธีรพันธ์ โล่ห์ทองคำ และ

ชลิต ลิมปนะเวช. (2546). สร้างแบรนด์. กรุงเทพฯ : ทิปปิ้ง พอยท์.

วิโรจน์ สุทธิสีมา. (2557). การสื่อสารกับวาทกรรมการวิ่งในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์รวมข้อมูลเพื่อธุรกิจSME (2563). เจาะโอกาส “ธุรกิจจัดงานวิ่งปี 63” ขุมทรัพย์ 1.7 พันล้าน ธุรกิจไหน ด้อานิสงส์. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก

https://www.smethailandclub.com/marketing-5456-id.html (สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2563)

สุนิสา ประวิชัย. (2560). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์. (ออนไลน์) วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม. 7(2).1-13. เข้าถึงได้จาก https://e-jodil.stou.ac.th/filejodil/16_1_572.pdf (สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2563)

เสริมยศ ธรรมรักษ์. (2551). การสื่อสารแบรนด์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สำนักสารนิเทศ. (2563). รมช. เปิดกิจกรรม “ก้าวท้าใจ ซีซั่น1” ออกกำลังกาย เดิน-วิ่งสะสม ถึง 31 มีนาคม 2563. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/04/137074/. (สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2563)

อภิชัจ พุกสวัสดิ์. (2556). การประชาสัมพันธ์เพื่อการสร้างภาพลักษณ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรุณรัตน์ ชินวรณ์. (2553). สื่อประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Aaker, D. A. (1996). Building strong brands. New York, NY : The Free Press.

Chinnawan Arunrat. (2010). Public Relations Media. Bangkok : Chulalongkorn University Press.

Jada Pinpinut. (2019). Branding in Digital Era . Interdisciplinary Sripatum Chonburi Journal , 5(1) 67-73. Retrieved March 3, 2020 from https://www.chonburi.spu.ac.th/interdiscip/filepdf/201905241099129142.pdf (In Thai)

Jayapani Witawat, Bunyarathavej Dolchai, Ingkhawat Panu, Santisiri Tor, Chivangkun Narong, Lothongkam Theeraphan and Limpanawet Chalit. (2003). Create brand. Bangkok : Tipping Point Press. (In Thai)

Keller, K.L., (2013). Strategic brand management. New Jersey : Pearson Education Limited.

Ministry of Tourism and Sports (2019). Road Running Event Guide in Thailand. (n.d.). (In Thai)

National Health Development Plan Issue 12, 2017-2021. Strategy 1: Accelerate the promotion of healthy Thai people. Nonthaburi : Ministry of Public Health.

Netanin Pathamaporn. (2011). The Synthesis of Branding Process & Strategic Branding. Executive Journal, 31(2), 36-50. Retrieved February 24, 2020 from https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/april_june_11/pdf/aw5.pdf

(In Thai)

Office of Information .(2020). Deputy Minister of Education opened the activity "Step Challenge the Mind, Season 1" Exercise, walk-run, accumulate until 31 March 2020. Retrieved June 5, 2020 from https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/04/137074/. (In Thai)

Otton Kwanchanok (2012). Brand building of an organization on social network : a case study of Bangkok biz news. Sripatum Chonburi Journal. Page 118-124. Retrieved March 3, 2020 from https://www.east.spu.ac.th/journal/booksearch/upload/1398-018_brand.pdf (In Thai)

Phooksawat Aphichat. (2013). Public relations for image building. Bangkok : Chulalongkorn University Press.

Prawichai Sunisa. (2017). Public Relations Strategies in Utilizing Social Media. Electronic Journal of Open Distance Innovative Learning. 7(2).1-13. Retrieved March 3, 2020 from https://e-jodil.stou.ac.th/filejodil/16_1_572.pdf (In Thai)

Rakpuang Songsak . (2019). Marathon in Thailand : Social Network and Challenges in 21st Century. Romphruek Journal, 37(1), 8-17. Retrieved February 24, 2020 from http://romphruekj.krirk.ac.th/books/2562/1/01_37_1_ROMPHRUEK_JOURNAL.pdf (In Thai)

SME Information Center (2020). Penetrate the opportunity "Running Event Year 63". A treasure of 1.7 billion. Which businesses can merit?. Retrieved March 10, 2020 from https://www.smethailandclub.com/marketing-5456-id.html (In Thai)

Suttisima Viroj. (2014). Communication with the discourse of the runner in Thai society. Doctor of Philosophy in Communication Arts. Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University. (In Thai)

Thammarak Sermyot . (2008). Brand communication. Bangkok : Bangkok University. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-30