การศึกษาการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวผ่านสื่อสังคมออนไลน์ : กรณีศึกษา ชุมชนพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
คำสำคัญ:
การประชาสัมพันธ์, สื่อสังคมออนไลน์, การท่องเที่ยว, ชุมชนพุมเรียงบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชนพุมเรียงในสื่อสังคมออนไลน์ 2) สร้างสื่อการประชาสัมพันธ์ในสื่อสังคมออนไลน์ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อที่มีต่อสื่อการประชาสัมพันธ์ในสื่อสังคมออนไลน์ที่สร้างขึ้น การวิจัยใช้แบบผสมผสานข้อมูล โดยจำแนกเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้นำชุมชนและผู้เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวชุมชนพุมเรียง จำนวน 12 คน และการสนทนากลุ่มกับตัวแทนชุมชน จำนวน 2 กลุ่ม ๆ ละ 6-8 คน เพื่อให้ได้มา
ซึ่งรูปแบบและการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชนพุมเรียงในสื่อสังคมออนไลน์ นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงเนื้อหาด้วยการพรรณนาตามประเด็นที่ศึกษา
ข้อมูลเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามออนไลน์ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.93 เพื่อศึกษาความพึงพอใจผู้ใช้สื่อ Facebook Page จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นแบบบังเอิญ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
- รูปแบบการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวในสื่อสังคมออนไลน์ คือ Facebook Page โดยใช้ชื่อว่า “พุมเรียงบ้านเรา” (Phumriang My Home) มี Logo เป็นรูปปืนใหญ่
- การสร้าง Facebook Page “พุมเรียงบ้านเรา” เป็นการนำเสนอเนื้อหาสถานที่ท่องเที่ยวนำร่อง จำนวน 9 แห่ง โดยมีการเข้าถึงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด นักวิจัยได้จัดอบรมและมอบสิทธิ์ให้ตัวแทนชุมชนเป็นผู้ดูแลเพจ (Co-Administrator) และรับผิดชอบเนื้อหาร่วมกัน เพื่อให้เกิดความเคลื่อนไหวและสร้างความยั่งยืนให้กับ Facebook Page “พุมเรียงบ้านเรา”
- ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อ Facebook Page “พุมเรียงบ้านเรา” ในระดับมากและเข้าใช้งานเพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับการท่องเที่ยวชุมชนมากที่สุด
References
45 หน้า.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559). สถิติอัตราการเข้าพักโรงแรมใน 14 จังหวัดภาคใต้ของ
นักท่องเที่ยวคนไทย. สืบค้นจาก http://www.mots.go.th, 2561 สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2561.
กองวิจัยการตลาด ททท. (2560). Understanding Gen Y. TAT Review Magazine 3/2017 สืบค้นจาก
http://etatjournal.com/web/menu-read-tat/menu-2017/menu-32017/798-32017-gen-y สืบค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2560.
กฤษฎากร ชูเลม็ด. (2557). พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตและความพึงพอใจต่อการใช้อินเทอร์เน็ต
เพื่อการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติในอำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
กังสดาล ศิษย์ธานนท์ และพรพรรณ ประจักรเนตร. (2559). รูปแบบการดำเนินชีวิต รูปแบบการใช้สื่อ
ออนไลน์และความตั้งใจซื้อสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทย.
วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิด้า. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2559)
ชนกพล ชัยรัตนศักดา. (2556). ประสิทธิภาพของสื่อประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทย.
การศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาการ
ประชาสัมพันธ์.
ชนิตว์ปิยา แสงเย็นพันธุ์. (2554). ผลของข้อมูลจากสื่อออนไลน์ที่มีต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวของ
นักท่องเที่ยวชาวไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์.
ณัฐพล หิรัญเรือง. (2555). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเฟสบุ๊คชาวไทยต่อการเผยแพร่ข้อมูล
ทางการท่องเที่ยวผ่านเฟสบุ๊คของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานจังหวัด
ขอนแก่น. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ณัฐา ฉางชูโต. (2553). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ภายใต้กระแส Social Network. Executive
Journal. 173-183.
เทศบาลตำบลพุมเรียง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (2560). ประวัติตำบลพุมเรียง. สืบค้นจาก http://
www.phumriang.go.th/frontpage สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2560.
นฤมล เพิ่มชีวิต. (2552). การแสวงหาข้อมูล การใช้ประโยชน์ และความเชื่อถือในข้อมูลการ
ท่องเที่ยวจากสื่อออนไลน์ที่ผู้บริโภคสร้างเองของคนวัยทำงาน. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุบผา เมฆศรีทองคำ และขจรจิต บุนนาค. (2556). พฤติกรรมการบริโภคข่าวผ่านสื่อเฟชบุ๊คของคน
ต่างวัยในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ สถาบันอิศราและสำนักงาน
กองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ.
เบญจมาภรณ์ คงชนะ และเรณุกา ขุนชำนาญ. (2561). พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของ
นักท่องเที่ยวเชิงเกษตร: กรณีศึกษา สวนสละอาทิตย์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เพียงอัปสร ยาปาน. (2558). การตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่
ด้วยการสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภทเฟซบุ๊ค. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ภุชพงค์ โนดไธสง. (2561). ผลสำรวจชี้คนไทยใช้สมาร์ทโฟนแทนคอม ฯ. สืบค้นจาก http://
www.dailynews.co.th/it/619622 สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2562.
วรุณยุพา อัศวโกวิทพงศ์. (2561). ผลกระทบของการรับรู้ประโยชน์และความน่าเชื่อถือของข้อมูลใน
การรีวิวร้านอาหารจากสื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้ากลุ่มนักท่องเที่ยว.
เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
ศุภรางศุ์ จันทร์เมฆา. (2560). ทัศนคติและความพึงพอใจต่อการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่มี
ต่อพฤติกรรมการเลือกแหล่งท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ศูนย์การท่องเที่ยววิถีชุมชนจังหวัดกระบี่. (2559). ความหมายและองค์ประกอบการท่องเที่ยวโดย
ชุมชน. สืบค้นจาก http://www.krabi.go.th/krabi2015/m_file/lifetravel/25.pdf สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2561.
สมชาย สังข์สนธ์. ผู้อำนวยการสถานีวิทยุท้องถิ่น Community Radio 94.25 MHz (สัมภาษณ์, วันที่ 8
เมษายน 2560)
สมเจตน์ ผิวทองงาม และคณะ. (2560). พุมเรียง:บริบทชุมชน ฐานเศรษฐกิจและทุนทางวัฒนธรรม.
สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี:
อรชล เมืองดี. หัวหน้าสำนักปลัดเทศบาลตำบลพุมเรียง (สัมภาษณ์, วันที่ 5 พฤษภาคม 2560)
อภิชาติ ติลกสกุลชัย. (2554). การศึกษาความต้องการข้อมูลของนักท่องเที่ยวชาวไทยผ่านสื่อ
ออนไลน์ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อภิชัจ พุกสวัสดิ์ และกุลทิพย์ ศาสตระรุจิ. (2556). การประชาสัมพันธ์ภายใต้กระแสสื่อสังคมออนไลน์.
Journal of Public Relations and Advertising. 6(2), 24-38. วารสารการสื่อสารและการจัดการ
นิด้า. 2(1). มกราคม-เมษายน.
อาริสา ลูกกลม. (2558). พฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดียของนักท่องเที่ยวกลุ่มผจญภัยในจังหวัด
เพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
Atsawakowitpong, W. (2018). The Impact of perceived usefulness and source credibility of
online restaurant reviews on tourism customer satisfaction. Chiang Rai: Mae Fah
University. (In Thai).
Chairattanasakda, C. (2013). The efficiency of tourism public relations media in Thailand.
Independent study, Master of Communication Arts course Sripatum University, Public
Relations Branch. (In Thai).
Changchuto, N. (2010). Public relations strategy under the Social Network trend. Executive
Journal. 173-183. (In Thai).
Choolamad, K. (2014). Internet- Using Behavior and Satisfaction Toward the Use of Internet for
Travelling Purpose of the Tourists in Amphor Koh Phangan, SuratThani Province.
Bangkok: Dhurakij Pundit University. (In Thai).
Chetthongngam, S. et al. (2017). PhumRiang: Community ContextEconomic base and cultural
capital. SuratThani: SuratthaniRajabhat University. (In Thai).
Chunmaka, S. (2017). The Attitudes and Satisfaction towards Public Relations on Travelers'
Behavior in Selecting Attractions via Social Media. Bangkok: Bangkok University.
(In Thai).
Hiranrueang N. (2012). Thai Facebook Users Satisfaction to Tourism Information Distribution
Through Facebook by Tourism Authority of Thailand, Khon Kaew Office. KhonKaen:
KhonKaen University. (In Thai).
Kongchana B. & Khunchomnan R. (2018). Agricultural Tourists’ use of information technology
for tourism: Case study Suan Sala Arthit, Surat Thani Province. Surat Thani: Suratthani
Rajabhat University. (In Thai).
Krabi Community Tourism Center. (2016). Meaning and components of tourism by
communities. Retrieved from
http://www.krabi.go.th/krabi2015/m_file/lifetravel/25.pdf.Retrieved 18 June 2018.
(In Thai).
Lookklom, A. (2015). Social media usage behavior of adventure tourists in Phetchabun.
Phitsanulok: Naresuan University. Thesis. (In Thai).
Meksrithongkum. B. & Bunnag.K. (2013). The News Consumption Behavior Through Facebook
by People of Different Ages in Thai Society. Bangkok: The National Press, Council of
ISARA Institute and Health Promotion Fund Office. (In Thai).
Ministry of Tourism and Sports. (2015).Strategies for Tourism in Thailand 2015-2017. July. 45
pages. (In Thai).
Ministry of Tourism and Sports. (2016). Hotel occupancy statistics in 14 southern provinces of Thai
tourists. Retrieved from http://www.mots.go.th, 2018.Retrieved on 28 December 2018.
(In Thai).
Mueangdee, O. Chief of the Office of the Permanent Secretary of PhumRiang Subdistrict
Municipality (Interview, May 5, 2017). (In Thai).
Notthaisong, P. (2018). Survey results show Thai people use smart phones instead of
computers. Retrieved from http://www.dailynews.co.th/it/619622. Retrieved on 20 November 2019. (In Thai).
Permshewit, N. (2009). Information seeking,use and trust in tourism information from online media
created by consumers of working people. Bangkok: ChulalongkornUniversity. (In Thai).
PhumRiang Subdistrict Municipality Surat Thani. (2017). History of PhumRiang Subdistrict.
Retrieved from http://www.phumriang.go.th/frontpage. Retrieved 25 March 2017.
(In Thai).
Pooksawat, A. and Satararuchi, K (2013). Public relations under the social media trend.
Journal of Public Relations and Advertising. 6(2), 24-38. Journal of Communication and
Manage NIDA. 2 (1). January - April. (In Thai).
Sangyenphan, C. (2011). The effect of information from online media on tourism decisions of
Thai tourists. Chulalongkorn University: Bangkok. thesis. (In Thai)
Sitthanon, K. and Prachaknet, P. (2016). Lifestyle Forms of using online media and purchase
intention and tourism services for Thai tourists. Journal of Communication and
Management, NIDA. Year 2, Issue 1 (January-April 2016). (In Thai).
Sungson, S. Director of Local Radio Community Radio 94.25 MHz (Interview, 8 April 2017).
(In Thai).
TAT Market Research Division. (2017). Understanding Gen Y. TAT Review Magazine 3/2017.
Retrieved from http://etatjournal.com/web/menu-read-tat/menu-2017/menu-32017/798-32017-gen-y. Retrieved on 23 July 2017. (In Thai)
Tiloksakulchai, A. (2011). A study of needed information of Thai tourists via Tourism Authority
of Thailand’s online media. Bangkok: Chulalongkorn University. (In Thai).
Yapan, P. (2015). The decision making to travel of tourists in chiang mai by using
communicating through the online network facebook. Chiang Mai. Mae Jo University.
(In Thai).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
ลิขสิทธิ์เป็นของวารสาร....