กรอบแนวคิดและแนวทางปฏิบัติเพื่อพัฒนาโทรทัศน์สาธารณะในยุคดิจิทัล ภายใต้ นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐของสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5

ผู้แต่ง

  • พิชญาวี เกื้อสกุล นักศึกษาระดับปริญญาเอก คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

คำสำคัญ:

กรอบแนวคิด, โทรทัศน์สาธารณะ, ยุคดิจิทัล, แนวทางปฏิบัติ, นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ

บทคัดย่อ

บทความเรื่อง กรอบแนวคิดและแนวทางปฏิบัติ เพื่อพัฒนาโทรทัศน์สาธารณะในยุคดิจิทัล                ภายใต้นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐของสถานีวิทยุโทรทัศน์ของกองทัพบก ช่อง 5 เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรอบแนวคิดและแนวทางปฏิบัติเพื่อพัฒนาโทรทัศน์สาธารณะในยุคดิจิทัลภายใต้นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐของสถานีวิทยุโทรทัศน์ของกองทัพบก ช่อง 5 รวมทั้งเพื่อเสนอแนะแบบจำลองโทรทัศน์สาธารณะเพื่อความมั่นคง โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการวิเคราะห์เอกสาร การสัมภาษณ์เจาะลึก 5 กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้บริหาร นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อสารมวลชน ผู้ผลิตรายการและ ผู้แทนองค์กรภาคประชาชน และ การสังเกต

ผลการศึกษา พบว่า ททบ.5 สามารถนำแนวทาง 5R plus 3Dev ไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติได้ดังนี้ประกอบด้วย Restructure การปรับโครงสร้างองค์กร Rebranding การปรับภาพลักษณ์ใหม่ด้านความมั่นคง Recontent การปรับเนื้อหารายการให้สะท้อนความมั่นคงรอบด้าน Retain การดำรงไว้ซึ่งวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งสถานีไว้ Release การปรับระบบและคนที่ไม่ดี ให้ปลดออกไป Human Resources Development ส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้และสร้างสรรค์ผลงาน Financial and Budgeting Development มีการพัฒนาแหล่งรายได้ เพิ่มเติมจากการหารายได้เองเพียงอย่างเดียว Technology and New Media Development การใช้เทคโนโลยีและสื่อใหม่ทุกรูปแบบให้เกิดประสิทธิภาพ อีกทั้ง ผู้วิจัยได้เสนอแนะแบบจำลองโทรทัศน์สาธารณะเพื่อความมั่นคงว่าควรยึดหลักการพื้นฐานของสื่อสาธารณะ ดังนี้ เน้นผลประโยชน์สาธารณะเป็นหลัก เนื้อหารายการเน้นความมั่นคงรอบด้านและมีความหลากหลาย มีความโดดเด่น รวมทั้งรับเงินอุดหนุนจากรัฐ หรือ รายได้บางส่วนจากเอกชน ผู้ผลิตรายการมีเสรีในการนำเสนอ พึ่งพิงโฆษณาให้น้อยลง และ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการผลิตรายการได้

References

บรรณานุกรม
โกศล สงเนียม. (2546). การบริหารรายการโทรทัศน์เชิงยุทธ์ ศึกษาเฉพาะกรณี สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. วิทยานิพนธิ์ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คงทน เจือวานิช. (2556). การพัฒนาสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกตามแผนแม่บทของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. วิทยาลัยการทัพบก.
จีรนันท์ สังข์งาม. (2558). ลักษณะการเป็นสื่อมวลชนยุคใหม่ ในบริบทการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิตอลประเภททีวีสาธารณะเพื่อความมั่นคง ศึกษาเฉพาะกรณีสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5. สารนิพนธ์: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน. (2559). การบริหารจัดการสื่อโทรทัศน์ในยุคหลอมรวม. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ชาติชาย คงเพ็ชรดิษฐ์ และ ธีระวัฒน์ จันทึก (2559). การบริหารการเปลี่ยนแปลง : บทบาทของภาวะผู้นำและการสื่อสารในองค์การ. Veridian E- Journal. Silpakorn University. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1. มกราคม – เมษายน.
แผนกลยุทธิ์ 5 ปี สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก พ.ศ.2560 - 2564
แผนการเปลี่ยนผ่านสู่ความเป็นทีวีดิจิทัลของสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก พ.ศ.2558 - 2561.
แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ของกองทัพบก พ.ศ.2556 - 2560.
พัทธนันท์ วิเศษสมวงศ์. (2551). พัฒนาการและการจัดตั้งทีวีสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. คณะนิเทศศาสตร์ สาขา นิเทศศาสตร์พัฒนาการ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ภูชิตต์ ภูริปาณิก. (2556). โครงสร้างสาธารณะ Thai PBS กับการมีส่วนร่วมของพลเมือง. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต. สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
วรลักษณ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2556). การบริหารรายการข่าวเชิงวิเคราะห์ภายใต้พันธกิจทีวีสาธารณะ กรณีศึกษารายการที่นี่ไทยพีบีเอส. การค้นคว้าอิสระ: คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วีระชาติ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2551). ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกเพื่อเพิ่มเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน. ดุษฎีนิพนธ์ สาขา การจัดการการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ศักดิ์ชัย อภินัยนาถท. (2544). การศึกษามาตรการสนับสนุนสถานีโทรทัศน์เพื่อบริการสาธารณะ.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุภารัตน์ ธนกุลพรรณ (2553). สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย : แนวคิด ปรัชญา กลยุทธ์ และ ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารงาน. วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อภิชา ประกอบเส้ง (2558). รูปแบบการปรับภาพลักษณ์ของสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5. วิทยานิพนธ์บริหารดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการกีฬาและการบันเทิง . มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
Atkinson, D.,&Raboy.M.(1997). Overview of a crisis. In Public Service Broadcasting: The Challenges of the twenty – first Century. Paris: Unesco.
Aris, A. (2011). Managing Media Companies through the digital transition. In M. Deuze. Managing Media work. London: Sage.
Bass.B.M. (1985). Leadership and performance beyond expectations. Newyork: The press.
Bass.B.M. (1971). Does the transactional-transformational leadership paradigm transcendorganizational and national boundaries?. American Psychologist, 52, pp.
130 – 139
Corporation for Public Broadcasting Annual Report. (2012).
Daft R.L.(2008). New Era of Management. 2thed. China: China Translation and printing Services.
Graham, A., &Davies, G.(1997). Broadcasting, Society and Policy in the Multimedia Age. London: John Libby Media.
Mary Debrett (2010). Reinventing Public Service Television for The Digital Future. The University of Chicago Press, Il. USA.
McKinsey&Company. (1999). Public Service Broadcasters Around the world: A McKinsey Report for the BBC. Available: www.bbc.co.uk/info/bbc/pdf/McKinsey.pdf.
Mierzejewska, B. (2011). Media Management in theory and practice. In M. Deuze. Managing media work. London: Sage.
Petroslosifidis (2007). Public Television in the Digital Era. Paulgrave MacMillan, Newyork, USA.
Price, Monroe E. and Raboy, M. (Eds.) (2001). Public Service Broadcasting in Transition. A Report for the European Institute for the Media, September 1, 2001.
Robbin, S.P. and Colter, M. (2008). Management and Organization Behavior. Translated by Wirat Sanguanwongwan. 8th ed. Bangkok : Pearson Education Indo – China. (In Thai).
Robbins, S.P.(2005). Organizational Behavior. Translated by Rangsan Prasertsri. 14th ed., Bangkok: Pearson Education Indo – China. (In Thai).
World Radio and Television Council. (2000) .'Public Broadcasting, Why? How?', Quebec: Centre d’études sur les médias,

Bibliography
5 year Strategic Plan of Royal Thai Army Radio and Television Channel 5, 2017 – 2021.
(In Thai).
Apicha Prakobseng. (2016). The Rebranding Model of Royal Thai Army Radio and Television Channel 5. Dissertation of Graduate College of Management, Sports and Entertainment Program. Sripatum University. (In Thai)
Atkinson, D.,&Raboy.M.(1997). Overview of a crisis. In Public Service Broadcasting: The Challenges of the twenty – first Century. Paris: Unesco.
Aris, A. (2011). Managing Media Companies through the digital transition. In M. Deuze. Managing Media work. London: Sage.
Bass.B.M. (1985). Leadership and performance beyond expectations. Newyork: The press.
Bass.B.M. (1971). Does the transactional-transformational leadership paradigm transcendorganizational and national boundaries?. American Psychologist, 52, pp.
130 – 139
Chatichai Kongpetdit and Thirawat Chantuk. Change Management : Role of Leadership and Organizational Communication. Veridian E- Journal. Silpakorn University. 9th year, 1st ed. January – April. (In Thai)
Chiranun Sungngam. (2015). New media characteristics in the context of the transition to digital TV, public television for security A case study of the Royal Thai Army Television Channel 5. Thematic Paper: Faculty of Journalism and Mass communicaton. Thammasat University. (In Thai)
Corporation for Public Broadcasting Annual Report. (2012).
Daft R.L.(2008). New era of Management. 2thed. China: China Translation and printing Services.
Graham, A., &Davies, G.(1997). Broadcasting, Society and Policy in the Multimedia Age. London: John Libby Media.
Kongton Juewanit (2556). Development of the Royal Thai Army Radio and Television station via the National Broadcasting and Telecommunications. Army War College. (In Thai).
Kosol Songneam. (2546). Strategic Television Programme Admistration case study Channel 9. Thesis of Arts Program, Thammasat University. (In Thai).
Mary Debrett. (2010). Reinventing Public Service Television for The Digital Future. The University of Chicago Press, Il. USA.
McKinsey&Company.(1999). Public Service Broadcasters Around the world: A McKinsey Report for the BBC. Available: www.bbc.co.uk/info/bbc/pdf/McKinsey.pdf.
Mierzejewska, B. (2011). Media Management in theory and practice. In M. Deuze. Managing media work. London: Sage.
Petroslosifidis. (2007). Public Television in the Digital Era. Paulgrave MacMillan, Newyork, USA.
Price, Monroe E. and Raboy, M. (Eds.) (2001). Public Service Broadcasting in Transition. A Report for the European Institute for the Media, September 1, 2001.
Phatthanan Wisetsomwong (2008). The Development and the Establishment of the First Public Television in Thailand. Master of Arts Thesis. Faculty of Communication Arts. Department of Development Communication, Dhurakij pundit University. (In Thai).
Phuchit Phuriparnik. (2013). Structure of Thai Public Broadcasting Service and Citizens’ Participation. Communication Doctoral Dissertation. Department of Communications, Dhurakij pundit University. (In Thai).
Robbin, S.P. and Colter, M. (2008). Management and Organization Behavior. Translated by Wirat Sanguanwongwan. 8th ed. Bangkok : Pearson Education Indo – China. (In Thai).
Robbins, S.P.(2005). Organizational Behavior. Translated by Rangsan Prasertsri. 14th ed., Bangkok: Pearson Education Indo – China. (In Thai).
Royal Thai Army’s Broadcasting and Telecommunication Master Plan, 2013 – 2017. (In Thai).
Sakchai Aphininat (2001). The Study of Supporting Measures for Television Stations for Public Services. Master’s Thesis. Faculty of Economics, Thammasat University. (In Thai).
Suparat Thanalpun (2010). TPBS : concept, philosophy strategy and factors that effect management approach. Thesis of Arts Program, Thammasat University. (In Thai).
The Transition to Digital Television Plan of Royal Thai Army Radio and Television Channel 5, 2015 – 2018. (In Thai).
Thitinan.B.Common. (2016). Management of Television in the Digital Convergence Era. Dhurakij pundit University Research Center. (In Thai).
Weerachart Palakawong Na Ayuttaya (2551). Development Strategies for The Royal Thai Army Radio and Television to Enhance Competitiveness. Graduate School Dissertation. Suan Dusit Rajabhat University. (In Thai).
Woralak Isarangkun Na Ayutthaya (2014). Analatical News Program Management under the Public TV Mission case studies ‘This is ThaiPBS’. Independent Study: Faculty of Journalism and Mass Communication. Thammasat University. (In Thai).
World Radio and Television Council. (2000) .'Public Broadcasting, Why? How?', Quebec: Centre d’études sur les medias.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-29