นวัตกรท้องถิ่นรุ่นใหม่กับการแพร่กระจายนวัตกรรมสู่ชุมชน

ผู้แต่ง

  • ภานนท์ คุ้มสุภา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

คำสำคัญ:

นวัตกร, นวัตกรรม, การแพร่กระจายนวัตกรรม

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยด้านบวกที่ส่งเสริมการทำงานและปัจจัยด้านลบที่เป็นอุปสรรคของนวัตกรท้องถิ่นรุ่นใหม่ (New Generation of Local Innovator) ซึ่งหมายถึงคนรุ่นใหม่ในท้องถิ่นที่เป็นผู้สร้างนวัตกรรมสำหรับแก้ปัญหาให้กับชุมชนของตนเอง และเพื่อนำเสนอแนวทางในการแพร่กระจายนวัตกรรมสู่ชุมชน โดยวิเคราะห์จากกรณีศึกษานวัตกรท้องถิ่นรุ่นใหม่ที่ประสบความสำเร็จ เริ่มต้นจากเป็นการวิเคราะห์ลักษณะความเป็น “คนใน” หรือ “insider” ที่เกิดและเติบโตในชุมชนของนวัตกรท้องถิ่นรุ่นใหม่ 2 ด้านคือ หนึ่งเป็นปัจจัยที่เป็นประโยชน์ในการทำความเข้าใจปัญหาของชุมชน คือ 1) ความสะดวกในการเข้าถึงชุมชน 2) การเข้าใจวัฒนธรรม 3) การมีส่วนร่วมในสถานการณ์ที่เป็นปัญหา ซึ่งจะทำให้นวัตกรท้องถิ่นเข้าถึงข้อมูลและเข้าใจปัญหาได้อย่างลึกซึ้งเมื่อเปรียบเทียบกับคนภายนอกชุมชน สองเป็นปัจจัยซึ่งเป็นอุปสรรคในการแพร่กระจายนวัตกรรมไปสู่ชุมชน 2 ประการคือ 1) ขาดความน่าเชื่อถือ เพราะไม่มีโอกาสแสดงความชำนาญให้คนในชุมชนยอมรับเนื่องจากมีส่วนร่วมในชุมชนน้อย และ 2) ไม่มีสถานภาพที่สูงกว่าและมีวัยวุฒิที่น้อยกว่าสมาชิกในชุมชน อย่างไรก็ตามแนวทางในการส่งเสริมการแพร่กระจายนวัตกรรมสู่ชุมชน นวัตกรท้องถิ่นรุ่นใหม่ สามารถนำนวัตกรรมที่สร้างสรรค์ขึ้นไปเผยแพร่สู่เครือข่าย (network) และเข้าร่วมเป็นขบวนการเคลื่อนไหวที่มีจุดมุ่งหมายเชิงสังคม (social Movement) สอดคล้องหรือใกล้เคียงกัน เนื่องจากสมาชิกในเครือข่ายและขบวนการเคลื่อนไหวมักจะเป็นคนในกลุ่มที่เป็นนวัตกรผู้ริเริ่ม (Innovator) หรือกลุ่มผู้รับเร็วส่วนแรก (early adopter) ที่มีความคล้ายคลึงกัน (similarity) กับนวัตกรท้องถิ่นรุ่นใหม่ ซึ่งจะทำให้เกิดการยอมรับนวัตกรรมได้ง่าย จากนั้นใช้ความร่วมมือที่เกิดขึ้นสื่อสารถึงประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ (relative advantage) และแสดงผลของการใช้นวัตกรรมให้สังเกตได้ (observability) กลับมายังชุมชนเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือและเกิดการแพร่กระจายนวัตกรรมในชุมชนมากขึ้น

Author Biography

ภานนท์ คุ้มสุภา, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

References

บรรณานุกรม
ASTVผู้จัดการออนไลน์. (2558). จากดงดอยสู่ดวงดาว “ลี อายุ จือปา” เจ้าของ “อาข่า อ่ามา” กาแฟไทยดังไกลระดับโลก. สืบค้น 3 มีนาคม 2560. จาก http://www.manager.co.th/Home/ ViewNews.aspx?NewsID=9580000083406
Craftnroll. (2559). ผมอยากพากาแฟไทยไปเวทีโลก. สืบค้น 5 ตุลาคม 2562, จาก https://craftnroll.net /all/บริรักษ์-อภิขันติกุล/
Donnaya Suvetwethin. (2559). “คนกล้าคืนถิ่น” พัฒนาบ้านเกิด. สืบค้น 10 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/34410-%27%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8 %81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%99%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99%27%20%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94.html
ThaiPBS. (2558). โลกเปลี่ยนต้องเปลี่ยนโลก: กาแฟของแม่. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2562, จาก https://www.youtube.com/watch?v=Gv1Qp0lGEUU&list=PLTlrQKAM3m5lwUQW_vdaVE3zXMYbNXec-&index=17&t=2753s
The Standard. (2562). อายุ จือปา ผู้ก่อตั้งอาข่า อ่ามา แบรนด์กาแฟชาวเขาระดับโลก. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2562, จาก https://www.youtube.com/watch?v=x3dqaX_Z3ug&list= PLTlrQKAM3m5lwUQW_vdaVE3zXMYbNXec-&index=6&t=590s
Viria Vichit-Vadakan. (2560). Stanford d.school bootcamp bootleg (design thinking) ฉบับแปลภาษาไทย. สืบค้น 23 ตุลาคม 2562, จาก https://issuu.com/viriav/docs/01___________________design_thinkin
กตัญญู สว่างศรี. (2558). ลี อายุ จือปา: จิบกาแฟซับซ้อนใช้ชีวิตง่าย ๆ. GM, 30 (448), 85-97.
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม. (2562). หน้าที่และอำนาจ. สืบค้น 23 ตุลาคม 2562, จาก https://www.mhesi.go.th/home/index.php/aboutus/vision-mission
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (ม.ป.ป.). รู้จักกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. สืบค้น 23 ตุลาคม 2562, จาก https://www.mdes.go.th/about
กาญจนา แก้วเทพ, กำจร หลุยยะพงศ์, รุจิรา สุภาษา, และ วีรพงษ์ พลนิกรกิจ. (2543). สื่อเพื่อชุมชน: การประมวลองค์ความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ชนินทร เพ็ญสูตร. (2560). ประเทศไทย 4.0 บริบททางเศรษฐกิจและการเมือง. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. 8(1), 68.
ชานนท์ โกมลมาลย์. (2561). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง นวัตกรรมทางสังคมโดยการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนเพื่อขับเคลื่อนสุขภาวะ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
ไทยรัฐออนไลน์. (2559). เกษตรกรไฮเทค ใช้ธุรกรรมผ่านเน็ต เพิ่มยอดขายกาแฟ. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2562, จาก https://www.thairath.co.th/news/tech/810096
นครินทร์ นวกิจไพบูลย์. (ม.ป.ป.). 7 วิธีปลดล็อกความคิดสร้างสรรค์ในตัวคุณกับ Tom Kelley เจ้าพ่อ Design Thinking ผู้เขียน Creative Confidence. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2562, จาก https://thestandard.co/podcast/thesecretsauce89/
นครินทร์ วนกิจไพบูลย์. (2559). ลี-อายุ จือปา : ผู้ก่อตั้ง ‘อาข่า อ่ามา’ แบรนด์กาแฟเพื่อสังคมสุดฮอต. สืบค้น 3 มีนาคม 2560. จาก http://www.adaymagazine.com/interviews/ yesterday-10
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (ม.ป.ป.). Fieldwork. สืบค้น 10 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/glossary/52
ปริตตา กออนันตกูล. (2555). คนใน: ประสบการณ์ภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
พรทิพย์ ชนะค้า. (2547). กลยุทธ์การสื่อสารเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นของปราชญ์ชาวบ้านจังหวัดบุรีรัมย์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภคพนธ์ ศาลาทอง. (2546). กระบวนการจัดตั้งและดำเนินงานของเครือข่ายกองทุนกลาง เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มณีมัย ทองอยู่. (2557). แนวคิดทฤษฎีสังคมวิทยาว่าด้วยขบวนการทางสังคม. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิยาลัยขอนแก่น
มูลนิธิเอสซีจี. (ม.ป.ป.). มูลนิธิเอสซีจี บ่มเพาะต้นกล้าชุมชน มุ่งสร้างนักพัฒนารุ่นใหม่ สร้างโอกาสให้คนหนุ่มสาว ได้กลับไปทำงานรับใช้ถิ่นฐานบ้านเกิด. สืบค้น 2 ตุลาคม 2562, จาก มูลนิธิเอสซีจี website: https://www.scgfoundation.org/th/news/read
วรัญญู อินทรกำแหง. (2560). "สิ่งที่จะทำ มันคือเป้าหมายสูงสุดในใจคุณหรือเปล่า" มองธุรกิจเพื่อสังคมกับ อายุ จือปา. สืบค้น 3 มีนาคม 2560. จาก http://themomentum.co/momentum-interview-lee-ayu-chuepa-akha-ama-coffee
วากเนอร์, โทนี่. (2561). คู่มือสร้างนักนวัตกรรมเปลี่ยนโลก. กรุงเทพฯ: Bookscape.
วิสาข์ สอตระกูล. (2561, กุมภาพันธ์ 11). ประวัติย่อของ Design Thinking ตอนที่ 1 : ภาคทฤษฎี. สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2562, จาก สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ website: https://hr.tcdc.or.th/en/Articles/Detail/ประวัติย่อของ-design-thinking-ตอนที่-1---ภาคทฤษฎี
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). ความเป็นมา. สืบค้น 23 ตุลาคม 2562, จาก https://www.nia.or. th/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2.html
สุทธาภรณ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา. (2559). กลยุทธ์การสื่อสารอัตลักษณ์ท้องถิ่นที่ปะทะกับกระแสโลกาภิวัตน์ผ่านพื้นที่ของกาแฟ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2556). ทฤษฎีการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ระเบียงทอง
เสรี พงศ์พิศ. (2562, กรกฎาคม 8). คนรุ่นใหม่กับอนาคตการเกษตรไทย. สืบค้น 7 ตุลาคม 2562, จาก สยามรัฐ website: https://siamrath.co.th/n/95277
อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2554). การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Dawson, P., & Daniel, L. (2010). Understanding social innovation: a provisional framework. International Journal of Technology Management, 51(1), 9–21.
Dev Appanah, S., Shrestha, S. (2007). Startup & Change the World: Guide for Young Social Entrepreneurs. Bangkok: Youth Social Enterprise Initiative.
Kelley, T. A., & Littman, J. (2005). The ten faces of innovation. New York: Currency/Doubleday.
Loper, Brandon. (2014). A Film About Coffee [Motion picture]. San Francisco, CA: Avocados & Coconuts.
Mulgan, G. (2006). The Process of Social Innovation. Innovations: Technology, Governance, Globalization, 1(2), 145–162.


Bibliography

ASTV Online Manager (2015). From the mountain to the star "Lee Ayu Chuepa", the owner of "Akha Ah Ma", world famous Thai coffee. Retrieved March 3, 2017, from http://www.manager.co.th/Home/ ViewNews.aspx?NewsID=9580000083406 (In Thai).
Chanintorn Pensute. (2017). Thailand 4.0 Economics and Political Contexts. Political Science and Public Administration Journal. 8(1), 68. (In Thai).
Chanon Komolman. (2018). Research report: Social Innovation on Promoting Well-being by the youth. Bangkok: Thai Health Promotion Foundation. (In Thai).
Craftnroll. (2016). I want to take Thai coffee to the world stage. Retrieved October 5, 2019 from https://craftnroll.net/all/บริรักษ์-อภิขันติกุล/ (In Thai).
Dawson, P., & Daniel, L. (2010). Understanding social innovation: a provisional framework. International Journal of Technology Management, 51(1), 9–21.
Donnaya Suvetwethin. (2016). Brave people return home to develop their homeland. Retrieved October 7, 2019, from https://www.thaihealth.or.th/Content/34410-%27%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%99%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99%27%20%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94.html (In Thai).
Dev Appanah, S., Shrestha, S. (2007). Startup & Change the World: Guide for Young Social Entrepreneurs. Bangkok: Youth Social Enterprise Initiative.
Kanchana Kaewthep, Kamjorn Louyyapong, Rujira Supasa, and Weerapong Polnikonkij. (2000). Media for Community: Comprehensive knowledge. Bangkok: Thailand Research Fund. (In Thai).
Katunyoo Sawangsri. (2015). Lee Ayu Chuepa: sip complicated coffee, live simple life. GM, 30 (448), 85-97. (In Thai).
Kelley, T. A., & Littman, J. (2005). The ten faces of innovation. New York: Currency/Doubleday.
Loper, Brandon. (2014). A Film About Coffee [Motion picture]. San Francisco, CA: Avocados & Coconuts.
Maneemai Thongyoo. (2013). Sociological Concepts and Theory on Social Movement. Khonkaen: Center for Research on Plurality in the Mekong Region Faculty of Humanities and Social Science Khonkaen University. (In Thai).
Ministry of Digital Economy and Society. (N.D.). About Ministry of Digital Economy and Society. Retrieved October 23, 2019, from https://www.mdes.go.th/about. (In Thai).
Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. (2019). Duty and Power. Retrieved October 23, 2019, from https://www.mhesi.go.th/home/index.php/aboutus /vision-mission (In Thai).
Nakarin Nawakijpaiboon. (N.D.). 7 ways to unlock creativity with Tom Kelley, the expert of Design Thinking and the writer of Creative Confidence. Retrieved October 5, 2019, from https://thestandard.co/podcast/thesecretsauce89/ (In Thai).
Nakarin Nawakijpaiboon. (2016). Lee Ayu Chuepa : the founder of Akha Ama. Retrieved March 3, 2016, from http://www.adaymagazine.com/interviews/ yesterday-10. (In Thai)
Narupon Duangwiset. (N.D.). Fieldwork. Retrieved October 7, 2019, from anthropological concepts website: https://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/glossary/52 (In Thai).
Nation Innovation Agency. (N.D.). Background. Retrieved October 23, 2019, from https://www.nia.or.th/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2.html (In Thai).
Online Thairath. (2016). Hi-tech farmer uses internet banking to increase coffee sales. from https://www.thairath.co.th/news/tech/810096 (In Thai).
Orawan Pilanowat. (2011). Persuasive Communication. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (In Thai).
Pakapon Salathong. (2003). The process of establishing and operating the Central Fund Network, Chatuchak District, Bangkok (Unpublished master’s thesis). Bangkok: Thammasat University. (In Thai).
Paritta Koranaatakoon. (2012). Insider: Thai anthropologist’s experience on the field. Bangkok: The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre. (In Thai).
Pornthip Chanaka. (2004). The Communication Strategies on local wisdom of Buri Ram intellectuals (Unpublished master’s thesis). Bangkok: Chulalongkorn University. (In Thai).
SCG Foundation (N.D.). SCD Foundation Building New Generation Developer, give a chance for the youth to return their home. Retrieved October 2, 2019, from: https://www.scgfoundation.org/th/news/read. (In Thai).
Seri Pongpit. (2019). The new generation and the future of Thai farmer. Retrieved October, 2562, from Siamrath website: https://siamrath.co.th/n/95277. (In Thai).
Surapong Sotanasatien. (2013). Communication Theory. Bangkok: Rabianthong. (In Thai)
Sutthaporn Ladawan Na Ayuthaya. (2016). The Communication Strategy: The Facing of Local Identities and Globalization in Coffee Sphere. (Unpublished master’s thesis). Bangkok: Thammasat University. (In Thai).
ThaiPBS. (2015). The changing world must change the world: Mother's coffee. October 6, 2019, from https://www.youtube.com/watch?v=Gv1Qp0lGEUU&list= PLTlrQKAM3m5lwUQW_vdaVE3zXMYbNXec-&index=17&t=2753s (In Thai).
The Standard. (2019). Ayu Chuepa, the founder of Akha Ama, a world class hill tribe coffee brand. October 6, 2019, from https://www.youtube.com/watch?v=x3dqaX_Z3ug&list= PLTlrQKAM3m5lwUQW_vdaVE3zXMYbNXec-&index=6&t=590s (In Thai).
Viria Vichit-Vadakan. (2017). Stanford d.school bootcamp bootleg (design thinking) Thai translation. Retrieved October 23, 2019, from https://issuu.com/viriav/docs/ 01___________________design_thinkin (In Thai).
Waranyoo Indrakamhaeng. (2017). "Is that your goal" Consider social enterprise with Lee Ayu Chuepa. Retrieved March,3 2017. from http://themomentum.co/momentum-interview-lee-ayu-chuepa-akha-ama-coffee. (In Thai).
Wagner, Tony. (2018). Creating innovators : the making of young people who will change the world. Bangkok: Bookscape. (In Thai).
Wisa Sortrakool. (2018). Brief history of design thinking: theory. Retrieved October10, 2019, from Creative Economy Agency website: https://hr.tcdc.or.th/en/Articles/Detail/ประวัติย่อของ-design-thinking-ตอนที่-1---ภาคทฤษฎี. (In Thai).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-29