การออกแบบเรขศิลป์ป้ายประชาสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษาโครงการริมน้ำยานนาวา

ผู้แต่ง

  • ทนงจิต อิ่มสำอาง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • เอื้อเอ็นดู ดิศกุล ณ อยุธยา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

การออกแบบเรขศิลป์, ป้ายประชาสัมพันธ์, เมืองสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

โครงการริมนํ้ายานนาวาคือโครงการที่มีการวางแผนการออกแบบเพื่อพัฒนาให้เป็นพื้นที่ริมนํ้าสาธารณะของย่านและชุมชนยานนาวาให้เกิดขึ้นในอนาคต เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี และเชื่อมโยงวัฒนธรรมและสังคมเข้าด้วยกัน ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อหาแนวทางการออกแบบเรขศิลป์ป้ายประชาสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์ที่จะสามารถสื่อสารข้อมูล ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร กิจกรรมต่างๆ และบอกชี้นำทาง แนะนำสถานที่ และแจ้งข่าวสารกิจกรรมต่างๆ ของสถานที่ เพื่อที่จะสามารถนำไปติดตั้งในโครงการดังกล่าว โดยผ่านกระบวนการวิจัยแบบผสมผสาน โดยเน้นกระบวนคิดเชิงออกแบบ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญ 2 ท่าน คือ ด้านเมืองสร้างสรรค์และด้านออกแบบเรขศิลป์เพื่อสภาพแวดล้อม และสัมภาษณ์ผู้อยู่อาศัยในชุมชนกลุ่มเป้าหมายย่านโครงการริมนํ้ายานนาวา จำนวน 138 คน ด้วยเครื่องมือ คือแบบสอบถาม โดยการออกแบบได้คำนึงถึงองค์ประกอบของเรขศิลป์ เกณฑ์การออกแบบป้ายสัญลักษณ์ เกณฑ์ของเมืองสร้างสรรค์ตามหลักการขององค์กรยูเนสโก ผลการศึกษาวิจัยพบว่า กลุ่มผู้อยู่อาศัยย่านโครงการริมนํ้าฯ เลือกป้ายประชาสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์รูปแบบ B เป็นป้ายสัญลักษณ์ที่สามารถปรับเปลี่ยนและเคลื่อนย้ายได้ ที่สามารถช่วยสนับสนุนกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของพื้นที่สอดคล้องกับแนวคิดของเมืองสร้างสรรค์ของประเทศไทย

Author Biographies

ทนงจิต อิ่มสำอาง, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University, Bangkok. Thailand

เอื้อเอ็นดู ดิศกุล ณ อยุธยา, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

References

บรรณานุกรม
ศฤงคาร กิติวินิต. (2548). การออกแบบเรขศิลป์สิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ ภาควิชาการ
ออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม. (2560). องค์ความรู้ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย สาขา
เรขศิลป์. โครงการส่งเสริมและพัฒนางานเรขศิลป์ (Graphic Design) ตามแผนการสร้างองค์
ความรู้ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560.
เอื้อเอ็นดู ดิศกุล ณ อยุธยา. (2543). ระบบป้ายสัญลักษณ์: Signage system. กรุงเทพฯ: พลัสเพลส,
Amy E. Arntson. (2007). Graphic Design Basics. Thomson Wadsworth. the United States of
America.
Ali Motamedi, Zhe Wanga, Nobuyoshi Yabuki, Tomohiro Fukuda and Takashi Michikawa. (2017).
Signage visibility analysis and optimization system using BIM-enabled virtual reality
(VR) environments. Advanced engineering Informations. pp. 248 -262
Florida, R.L. (2002). The rise of the creative class: and how it’s transforming work, leisure,
community and everyday life. New York: Basic Books.
Landry, Charles. (2008). The Creative City. A Toolkit for Urban Innovators. 2nd. Edition.
Near Stroud: Comedia.
Paul Harris, Gavin Ambrose. (2009). The Fundamentals of Graphic Design. AVA Publishing SA.
Singapore.
Robin Landa. (2011). Graphic Design Solutions. Fourth Edition. Cengage Learning, the United
States of America.
Yusita Kusumarini, Sherly de Yong, Diana Thamrin. (2012). Signage System of Malls in
Surabaya: Universal interior design applications and suggestions for solution. Procedia
- Social and Behavioral Sciences, 68(2012 ). pp. 515 – 525.

Bibliopgraphy
Amy E. Arntson. (2007). Graphic Design Basics. Thomson Wadsworth. the United States of
America.
Ali Motamedi, Zhe Wanga, Nobuyoshi Yabuki, Tomohiro Fukuda and Takashi Michikawa. (2017).
Signage visibility analysis and optimization system using BIM-enabled virtual reality
(VR) environments. Advanced engineering Informations. pp. 248 -262
Florida, R.L. (2002). The rise of the creative class: and how it’s transforming work, leisure,
community and everyday life. New York: Basic Books.
Landry, Charles. (2008). The Creative City. A Toolkit for Urban Innovators. 2nd. Edition.
Near Stroud: Comedia.
Office of Contemporary Art and Culture, Ministry of Culture. (2007). Knowledge of
Contemporary Art and Culture in Graphic Design (Development Project for Graphic Design), According to the year plan 2017 to create Contemporary Art and Culture. (In Thai).
Paul Harris, Gavin Ambrose. (2009). The Fundamentals of Graphic Design. AVA Publishing SA.
Singapore.
Robin Landa. (2011). Graphic Design Solutions. Fourth Edition. Cengage Learning, the United
States of America.
Saringkhan Kitiwinit. (2005). The Environmental graphic design to promote identity in the
Southern of Thailand border provinces. Master of Arts Thesis, Department of Communication Design, Department of Visual Communication Design, Silpakorn University. (In Thai).
Ua-Endoo Disakul Na Ayudhya. (2000). Signage system. Plus Place, Bangkok. (In Thai).
Yusita Kusumarini, Sherly de Yong, Diana Thamrin. (2012). Signage System of Malls in
Surabaya: Universal interior design applications and suggestions for solution. Procedia
- Social and Behavioral Sciences, 68(2012 ). pp. 515 – 525.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-30