ความผูกพันต่อตราแอปพลิเคชันไลน์ของผู้สูงอายุไทย
Thai Elderly Brand Engagement of Line application
คำสำคัญ:
Consumer brand engagement, Thai Elderly, Line application, ความผูกพันต่อตราสินค้าของผู้บริโภค, ผู้สูงอายุ, แอปพลิเคชันไลน์บทคัดย่อ
งานวิจัยเรื่องความผูกพันต่อตราแอปพลิเคชันไลน์ของผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความผูกพันต่อตราแอปพลิเคชันไลน์ของผู้สูงอายุ โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ที่ประยุกต์จากมาตรวัดความผูกพันต่อตราสินค้าของผู้บริโภคเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลของกลุ่มผู้สูงอายุจำนวนทั้งสิ้น 400 ตัวอย่าง
ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุมีความผูกพันต่อตราแอปพลิเคชันไลน์ในระดับสูง ทั้งในด้านองค์ประกอบความทุ่มเทใส่ใจ (องค์ประกอบด้านทัศนคติ) ด้านองค์ประกอบการแสดงความกระฉับกระเฉง (องค์ประกอบด้านพฤติกรรม) และด้านองค์ประกอบความเกี่ยวข้อง (องค์ประกอบด้านความรู้) โดยทั้ง 3 องค์ประกอบมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูง
References
กันตพล บันทัดทอง. (2557). พฤติกรรมใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และความพึงพอใจของกลุ่มคนผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ].
กิรณา สมวาทสรรค์. (2559). การศึกษาพฤติกรรมการสื่อสารกับการส่งต่อข้อมูลผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ของผู้สูงอายุ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์].
กาญจนา แก้วเทพ. (2554). ผู้สูงวัยกับการสื่อสาร. ใน กาญจนา แก้วเทพ. (บ.ก.), ผู้คนที่หลากหลายในการสื่อสาร: เด็ก สตรี และผู้สูงวัย (น. 408-557). โครงการเมธีวิจัยอาวุโส กระบวนทัศน์ใหม่ของสื่อสารศึกษาไทย.
เกศกนก ยิ้มแย้ม. (2562). ความตั้งใจในการเลือกใช้แอปพลิเคชันไลน์ของกลุ่มผู้สูงอายุ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].
จันทร์จิราพร ทองประสิทธิ์ และทิพยา จินตโกวิท. (2563). พฤติกรรมของผู้สูงอายุในการใช้แอปพลิเค
ชันไลน์บนสมาร์ตโฟน. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 30(1), 118-129.
จุฑารัตน์ แสงทอง. (2560). สังคมผู้สูงอายุ (อย่างสมบูรณ์): ภาวะสูงวัยอย่างมีคุณภาพ. วารสารรูสมิแล, 38(1), 6-28.
เฉลิมศักดิ์ บุญประเสริฐ. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการใช้แอปพลิเคชันไลน์ของผู้สูงอายุ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่].
ชนัญญา เภกะนันทน์ และสราวุธ อนันตชาติ. (2560). รูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับสื่อ และการยอมรับนวัตกรรมของผู้บริโภคสูงอายุ. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 10 (2), 15-30.
ชมพูนุท พรหมภักดิ์. (2556). การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. วารสารบทความทางวิชาการ, 3(16), 1-18. http://senate.go.th
ณัฏฐกิตติ์ ปัทมะ. (2565). สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. http://senate.go.th
ดุษฎี นิลดำ, สราวุธ อนันตชาติ และวลัย วัฒนะศิริ. การพัฒนามาตรวัดความผูกพันต่อตราสินค้าของ
ผู้บริโภค. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 10 (1), 109-129.
พนม คลี่ฉายา. การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้สูงอายุและข้อเสนอเพื่อเสริมสร้างภาวะพฤติพลังและผลิต
ภาพของผู้สูงอายุไทย. วารสารนิเทศศาสตร์, 39 (2), 56-78.
มนัสสินี บุญมีศรีสง่า และมินตรา สดชื่น. (2560). รูปแบบการใช้สื่อโซเชียลมีเดียของผู้สูงอายุ. กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร ใน รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลครั้งที่ 9 (น. 1998-1605). นครปฐม: สถาบันวิจัยและ พัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส. ผส.). (2562). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2561. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส. ผส.). (2563). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2562. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส. ผส.). (2564). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2563. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
วรทัย ราวินิจ. (2558). ปัจจัยความสัมพันธ์ของการยอมรับนวัตกรรมและความเชื่อถือต่อข้อมูลสื่อสารการตลาดในสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุ. มหาวิทยาลัยรังสิต.
วรรณพร อินทมุสิก. (2559). การศึกษาพฤติกรรมการใช้ และผลที่ได้รับต่อชีวิตและจิตใจจากแอพพลิเคชั่นไลน์ของกลุ่มผู้สูงอายุสมาคมบ้านปันรัก. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ].
ศิริพร แซ่ลิ้ม. (2558). พฤติกรรมการใช้ไลน์แอพพลิเคชั่นของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (ม.ป.ป.). สถิติผู้สูงอายุ. http://www.dop.go.th/
สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2558). โครงการยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้ของคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสในยุคหลอมรวมเทคโนโลยี.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). สรุปผลที่สำคัญ สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ.2558.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). ดัชนีพฤฒพลังผู้สูงอายุไทย. http://www.nso.go.th/
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2563). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใน ประเทศไทย ปี 2562.
สื่อสารโดนใจรุ่นใหญ่วัยสีเงิน. (2561). สัมมนาการตลาด Marketing Conference ครั้งที่ 27 Silver Age Content Marketing: สื่อสารโดนใจรุ่นใหญ่วัยสีเงิน [Symposium]. วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย.
โสภัทร นาสวัสดิ์. (2564). รูปแบบของสื่อดิจิทัลที่ส่งผลกระทบต่อผู้สูงวัย. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 15(1), 242-269.
อดิศักดิ์ จำปาทอง และศชากานต์ แก้วแพร่. (2560). แนวทางการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 15(2), 235-267.
อารียา ศรีแจ่ม. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าถึงเทคโนโลยีของผู้สูงอายุในยุคดิจิทัล [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต].
อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์. (2563). สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย: ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 10(2), 46-58.
Tresopakol, W., Yoelao, D, & Sakulku, J. (2557). กระบวนการความผูกพันระหว่างผู้บริโภคกับแฟนเพจเฟสบุ๊กในประเทศไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(2), 150-163.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์เป็นของวารสาร....