การสื่อสารตราสินค้าในการสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อผู้บริโภค

ผู้แต่ง

  • อริสรา ไวยเจริญ -

คำสำคัญ:

การสื่อสารตราสินค้า, ผลกระทบเชิงบวก, ผู้บริโภค

บทคัดย่อ

            บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาแนวทางการสื่อสารตราสินค้าในการสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อผู้บริโภค เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจ การเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้ง่ายส่งผลให้พฤติกรรมผู้บริโภคมีการปรับเปลี่ยนในการใช้ชีวิตอย่างรวดเร็วตลอดเวลา การที่จะให้ผู้บริโภคยังคงใช้สินค้าของเราต่อไป ตราสินค้าต้องสร้างความชื่นชอบในตราสินค้า โดยเริ่มจากการสำรวจ Customer Journey ของผู้บริโภค จากนั้นทำการประเมินตราสินค้าทำบ่อยครั้ง เพื่อปรับให้เหมาะกับสถานการณ์ การประเมินตราสินค้าด้วย 1st-party data ข้อมูลที่ตราสินค้าสามารถทำได้เอง การเก็บข้อมูลของพนักงานขาย การทำแบบสำรวจกับกลุ่มเป้าหมาย 2nd-party data แลกเปลี่ยนข้อมูลกับพันธมิตรเพื่อประโยชน์ทางธุรกิจซึ่งกันและกัน  3rd-party data การประเมินด้วยการซื้อข้อมูล นอกจากนี้มีการปรับหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านคุณภาพ ประสิทธิภาพ รูปลักษณ์ สร้างความเชื่อใจในตราสินค้า การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลของผู้บริโภค มีความรับผิดชอบต่อสังคมต่อสิ่งแวดล้อม สร้างประสบการณ์ทีดี่ทั้งด้านบรรจุภัณฑ์ พนักงานขาย เว็บไซต์สินค้า Call Center หรือฝ่ายการประชาสัมพันธ์ และการสร้างชุมชน (community) ในออนไลน์ เพื่อให้เกิดผลกระทบทางบวกต่อผู้บริโภค ที่ส่งผลให้ผู้บริโภคตัดสินใจเลือกซื้อตราสินค้า

References

เหตุผลที่ธุรกิจควรใช้ Data driven marketing วางแผนการตลาด. (2564). Katalyst. https://katalyst.kasikornbank.com/th/blog/Pages/5-reasons-why-business-should-use-data-driven-marketing.html

ณัฐพล ม่วงทำ. (2565, 16 มีนาคม). สรุป 52 Insight สำคัญจาก Thailand digital stat 2022 ของ we are social. การตลาดวันละตอน. https://www.everydaymarketing.co/trend-insight/insight-thailand-digital-stat-2022-we-are-social/

ณัฐพัชญ์ วงษ์เหรียญทอง. (2565). Experience marketing: ซื้อใจลูกค้าได้อยู่หมัดด้วยการตลาดสร้างประสบการณ์. ช็อร์ตคัต. อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.

โต๊ะข่าวไอที ดิจิทัล. (2565, 18 กุมภาพันธ์). ข้อมูลล่าสุดสถิติใช้ดิจิทัลในไทย จากรายงาน We are social. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/columnist/989552

ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2565, 12 กุมภาพันธ์). ยุคแห่งการทำ Collab marketing. Popticles. https://www.popticles.com/marketing/collaboration-marketing

พงศ์สุข หิรัญพฤกษ์. (2564, 19 ตุลาคม). สื่อสารอย่างจริงใจ’ การสื่อสารแนวใหม่เพื่อเอาชนะใจลูกค้า. Cariber. https://blog.cariber.co/post/honest-communication

ศิริพงศ์ เตียวพิพิธพร. (2565). Digital marketing unlocked ปลดล็อกการตลาดดิจิทัล. อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.

eukeik.ee. (2564). อยากได้ใจผู้บริโภค 2022 แบรนด์ควรทำอย่างไร. Marketeeronline. https://marketeeronline.co/archives/246566

eukeik.ee. (2565ก, 14 มีนาคม). ความลับของผู้บริโภคที่เป็นตัวกำหนดเทรนด์การตลาด. Marketeeronline. https://marketeeronline.co/archives/255651

eukeik.ee. (2565ข). 5 Trends digital transformation สำหรับภาคธุรกิจ. Marketeeronline. https://marketeeronline.co/archives/250332

Jan. (2565, 27 ตุลาคม). สรุป 8 อินไซต์ผู้บริโภคเปลี่ยนไปอย่างไร เมื่อโควิดจบแล้ว แต่เจอพิษ ‘เงินเฟ้อ’ กระหน่ำซ้ำ ทำให้ต้องรัดเข็มขัดต่อไป. Brandbuffet. https://www.brandbuffet.in.th/ 2022/10/ipsos-study-southeast-asia-tracker-through-the-pandemic-and-beyond/

Just222. (2564, 20 กรกฎาคม). แบรนด์พลาดโอกาสครองใจผู้บริโภค เพราะตอบโจทย์ Customer experience ไม่ได้อย่างที่หวัง. Marketeeronline. https://marketeeronline.co/archives/226994

Keller, K. L., & Narus, J. A. (2560). On strategic marketing [กลยุทธ์การตลาด]. เอ็กซเปอร์เน็ท.

Pigabyte. (2565). เผยอินไซต์เทรนด์ 2022 คนไทยถูกใจ “Entertainment” สร้างโอกาสให้ผู้ใช้งานแบรนด์ และครีเอเตอร์ ผ่าน TikTok. Marketingoops. https://www.marketingoops.com/reports/ behaviors/tiktok-trends-2022/

Prakai. (2565ก, 8 กุมภาพันธ์). ทำไมนักการตลาดควรสนใจ ‘กลยุทธ์ ABM’ เมื่อโลกเหลือแค่ข้อมูลจาก 1st party. Marketingoops. https://www.marketingoops.com/data/4-ways-to-build-a-successful-abm-strategy/

Prakai. (2565ข, 16 พฤษภาคม). ความเชื่อใจของผู้บริโภคที่นำไปสู่ ‘การตัดสินใจซื้อ’ ยังเกี่ยวโยงกับ ‘สิ่งแวดล้อม จุดยืนของแบรนด์. Marketingoops. https://www.marketingoops.com/data/how-digital-customers-respond-to-trust-based-marketing-engagement/

Sailwithme. (2565, 23 มิถุนายน). การกระทำ 5 อย่างสำหรับธุรกิจเพื่อสอดคล้องกับผู้บริโภคในยุค post pandemic. Marketingoops. https://www.marketingoops.com/exclusive/how-to/5-actions-for-business-postpandemic/

TCIJ. (2564, 26 กรกฎาคม). ผลสำรวจพบคนไทยมีอัตราช้อปปิ้งออนไลน์สูงที่สุดในโลกช่วง COVID-19. https://www.tcijthai.com/news/2021/19/scoop/11763

ThaiPR.net. (2565). OR ประกาศวิสัยทัศน์ใหม่ "เติมเต็มโอกาส เพื่อทุกการเติบโต ร่วมกัน" พร้อมกำหนดเป้าหมายในการเติบโตเคียงข้างผู้คน เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม. ryt9. https://www.ryt9.com/s/prg/3302368

xxapong. (2565, 27 กุมภาพันธ์). สรุป 6 เทรนด์พฤติกรรมผู้บริโภคในปี 2022 พร้อมแนวทางการทำการตลาดยังไงให้โดนใจ จากงาน Mindshare looking ahead 2022. adaddict. https://adaddictth.com/knowledge/Customer-Trends-Mindshare-Looking-Ahead-2022

Connolly, B. (2020). Digital trust. Bloombury Business.

Hanna, K. T., & Wigmore, I. (2022). Transparency. TechTarget. https://www.techtarget.com/whatis/definition/transparency

Kotler, P., Kartajaya, H., & Setiawan, I. (2021). Marketing 5.0. John Wiley & Sons.

Kotler, P., Keller, K. L., & Chernev, A. (2022). Marketing management. Pearson education.

Rajamannar, R. (2021). Quantum marketing. HarperCollins Leadershio.

Rosen, W., & Minsky, L. (2017). The activation imperative. Rowman & Littlefield.

Spinks, D. (2021). The business of belonging. John Wiley & Sons.

Statista. (2022). eCommerce – Thailand. https://www.statista.com/outlook/dmo/ecommerce/thailand

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-06