กระบวนการสร้างแบรนด์บุคคลของติ๊กต็อกเกอร์ กรณีศึกษา เฟิร์น ฟ.ฟัน

ผู้แต่ง

  • วรพงษ์ ปลอดมูสิก คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • ภัทรบุตร เขียนนุกูล อาจารย์ประจำคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • สุกฤษฎิ์ ศรีธัญรัตน์ อาจารย์ประจำคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

กระบวนการสร้างแบรนด์บุคคล, ติ๊กต็อกเกอร์, เฟิร์น ฟ.ฟัน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

งานวิจัยเชิงคุณภาพชิ้นนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสร้างแบรนด์บุคคลของติ๊กต็อกเกอร์ กรณีศึกษา เฟิร์น ฟ.ฟัน โดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

          ผลการศึกษาพบว่า เฟิร์น ฟ.ฟัน มีกระบวนการสร้างแบรนด์บุคคลที่น่าสนใจ ผ่าน 4 ขั้นตอน คือ
1). การสำรวจตัวตน โดยมี 2 ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัจจัยภายนอก คือ เปิดรับเนื้อหาของเหล่าคอนเทนต์
ครีเอเตอร์ทั่วโลก และปัจจัยภายใน คือมีความสนใจในการถ่ายทำและตัดต่อวิดีโอ  2). การสร้างแบรนด์บุคคล ถูกสร้างมาจาก 2 ส่วน ได้แก่ สร้างตัวตนจากเอกลักษณ์ของตัวเอง และสร้างตัวตนจากการกำหนดของบุคคลอื่น 3). การสื่อสารแบรนด์บุคคล ผ่านการกำหนดชื่อตัวตน ช่องทางการสื่อสาร กลุ่มเป้าหมาย รูปแบบประเภทเนื้อหา และช่วงเวลาที่ใช้ในการสื่อสาร 4). การรักษาแบรนด์บุคคล ได้แก่ การคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ส่วนบุคคล และการคงไว้ซึ่งคอนเทนต์สำหรับผู้ติดตาม

 

References

กมลวัฒน์ ตุลยสุวรรณ. (2560). กระบวนการสร้างแบรนด์บุคคลของนักธุรกิจรุ่นใหม่ [การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย]. https://online.anyflip.com/dvagi/uebb/mobile/

ชุลีกร วงศ์ฝั้น. (2560). การศึกษาขั้นตอนการสร้างแบรนด์บุคคล (PERSONAL BRANDING วิธีการสร้างและรักษาผู้ติดตามของ YOUTUBER และเหตุผลในการติดตาม YOUTUBER ของผู้บริโภค [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU_2017_5902115152_7901_7468.pdf

ณัฏฐา อุ่ยมานะชัย. (2556). ผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์กับพลังการบอกต่อ. วารสารนักบริหาร, 33(3), 47–51. https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/july_sep_13/pdf/aw07.pdf

ณัฐพัชญ์ วงษ์เหรียญทอง. (2564). สร้างคอนเทนต์มัดใจลูกค้า: How to do content marketing right. อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.

ตระหนักจิต ยุตยรรยง. (2561). การสร้างแบรนด์บุคคลในยุคประเทศไทย 4.0. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ UTCC Academic Day ครั้งที่ 2. 1335. คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. https://scholar.utcc.ac.th/bitstream/6626976254/3881/1/0004%20ตระหนักจิต%20ยุตยรรยง.pdf

สมิจฐ์ พรหมมินทร์, และ ขวัญฟ้า ศรีประพันธ์. (2564). การสร้างแบรนด์บุคคลของนักพากย์เกมบนเฟซบุ๊กเกมมิ่ง. วารสารการสื่อมวลชน คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(2), 186-208. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/masscomm/article/view/253709/171695

สุพิชญา ชื่นจิต, และ อัจฉรา ปัณฑรานุวงศ์. (2564). ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อกลุ่มผู้มีอิทธิพลทาง

ความคิดบนสื่อออนไลน์กับแนวโน้มการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าแฟชั่นแบรนด์หรู. วารสาร Media and Communication Inquiry คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 3(3), 39. https://so07.tci-thaijo.org/index.php/MCI/article/view/1113/806

สำนักข่าวอินโฟเควสท์. (2564, 23 ธันวาคม). ภาพรวมแพลตฟอร์มติ๊กต็อก (TikTok) ตลอดปี 64 https://www.infoquest.co.th/thailand-media-landscape-2022/tiktok

สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). (2564, 29 มิถุนายน). TikTok เทรนด์แพลตฟอร์มที่มาแรงบนโลกออนไลน์. https://www.okmd.or.th/okmd-kratooktomkit/4174/

Newman, N. (2009). The rise of social media and its impact on mainstream journalism. Reuters Institute for the Study of Journalism, Department of Politics and International Relations, University of Oxford.

fern_fernforfun. [@fern_fernforfun]. (n.d.). [TikTok profile]. TikTok. สืบค้น 16 พฤศจิกายน 2565. จาก https://www.tiktok.com/@fern_fernforfun

STEPS Academy. (2564, 30 เมษายน). 5 เหตุผลที่แบรนด์ควรทำการตลาดผ่าน TikTok เพื่อเจาะกลุ่มคนรุ่นใหม่. https://stepstraining.co/content/5-reasons-why-brands-should-use-tiktok-for-marketing

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-06