ทัศนคติและความพึงพอใจของเจนเนอเรชัน Y ที่มีต่อการฟังพอดแคสต์
คำสำคัญ:
Generation Y, First Jobber, Podcast, information exposure, expression behaviorบทคัดย่อ
ปัจจุบันสื่อมีเดียในรูปแบบสื่อพอดแคสต์ได้เข้ามามีอิทธิพลกับประเทศไทยเป็นอย่างมาก วิจัยนี้ได้จัดทำขึ้นมาเพื่อศึกษาถึงทัศนคติของกลุ่มคนเจนเนอเรชัน วาย กลุ่มคน First Jobber ในการเปิดรับฟังพอดแคสต์ (Podcast) และส่งผลต่อการดำเนินชีวิตอย่างไร โดยรูปแบบวิจัยเป็นวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Research) ระหว่างเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 5 คน ในเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) จำนวน 406 คน ที่อยู่ในช่วง First Jobber และเป็นกลุ่มที่ฟังสื่อพอดแคสต์
ผลของงานวิจัยได้ชี้ให้เห็นว่าผู้คนมักเลือกฟังรายการพอดแคสต์ตอนเวลาว่างเพื่อคลายเหงาหรือพักผ่อนใจ โดยการหลีกหนีจากกิจกรรมหลักที่ตนเองทำมาทั้งวัน รายการพอดแคสต์มักเป็นสื่อความรู้เบื้องต้นที่เหมาะกับคนที่มีคำถามหรือสนใจในเรื่องราวต่างๆ พร้อมทั้งผู้ฟังควรพิจารณาเนื้อหา และไปศึกษาต่อค้นคว้าข้อมูลต่อไป และผู้ที่จัดทำรายการควรมีการนำเสนอข้อมูล หรือมีแจ้งเตือนในการควบคุมเนื้อหารายการพอดแคสต์โดยมีการระบุคำเตือน
References
กาญจนา แก้วเทพ. (2547). สื่อสารสื่อมวลชน: ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เลิฟ แอนด์ สิฟ
ชนัญสรา อรนพ ณ อยุธยา. (2556). การกำกับดูแลเนื้อหารายการที่อาจเป็นภัยในกิจการโทรทัศน์ของประเทศไทยเพื่อคุ้มครองเด็กและเยาวชนภายใต้ภาวะสื่อหลอมรวม [ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. CUIR. https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43627
ชวรัตน์ เชิดชัย. (2527). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารมวลชน. คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชานันต์ รัตนโชติ. (2552). ประโยชน์ในการรับข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ออนไลน์ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง]. Digital Research Information Center. https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/RU.the.2009.282
ธนาคารไทยพาณิชย์, ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ. (2557). Insight กลยุทธ์มัดใจผู้บริโภค Gen Y. https://www.scbeic.com/th/detail/file/product/130/dzi68owq5l/8372_20141112161337.pdf
ปภาดา วรรณโณ. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับพฤติกรรมการใช้พอดแคสต์ของผู้ฟัง [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. TU Digital Collections. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:191261
ปวรรัตน์ ระเวง. (2560). การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลของผู้ฟังรายการพ็อดคาสท์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. CUIR. https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59883
ปวรรัตน์ ระเวง, และ พนม คลี่ฉายา. (2560). การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลของผู้ฟังรายการพอดแคสต์. วารสารนิเทศศาสตร์, 36(3), 59-76. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jcomm/article/view/153252
พณัฐฐิภา จงยิ่งศิริ, และ กาญจนา แก้วเทพ. (2555). ตรรกะการบริโภคและการถอดรหัสความหมายสินค้าประเภทเครื่องปรุงรสจากโฆษณาทางโทรทัศน์. วารสารนิเทศศาสตร์, 30(1), 44-58. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jcomm/article/view/213138
พนม คลี่ฉายา. (2555). ความต้องการข่าวสาร การใช้สื่อและนิสัยการเปิดรับสื่อของผู้สูงอายุไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พนม คลี่ฉายา. (2559). การวิจัย: การใช้งานความเสี่ยงการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลและแนวทางการสอนเพื่อการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลสำหรับนักเรียนมัธยมในประเทศไทยระยะที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). การวิจัยธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เพชรจรัสแสงแห่งโลกธุรกิจ.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2550). การบริหารการตลาดยุคใหม่. ธรรมสาร.
สถิติพอดคาสต์สำหรับปี 2564. (2564, 26 เมษายน). Affde. http://www.affde.com/th/podcast-statistics-research.html
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2549). พฤติกรรมผู้บริโภค (ฉบับมาตรฐาน): Consumer behavior. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อดุลย์ จาตุรงคกุล และ ดลยา จาตุรงคกุล. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อรรถสิทธิ์ เหมือนมาตย์. (2564, 27 กันยายน). ส่องเทรนด์สื่อดิจิทัลมาแรง ประเทศไหนบ้างที่ “พ็อดคาสต์” ได้รับความนิยมมากที่สุด. SALIKA. https://www.salika.co/2021/09/27/podcast-popular-around-the-world/
อาลี ปรียากร. (2560). การศึกษาแนวทางการผลิตรายการกระจายเสียงเพื่อเผยแพร่ผ่านรูปแบบรายการพอดแคสต์ในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]. NIDA Wisdom Repository. https://repository.nida.ac.th/items/8bb13d47-dbf4-4368-9b45-caa59913c8d2
Plearn Wisetwongchai. (2563, 24 มิถุนายน). Webinars กับ podcasts ควรทำไหม? มีข้อดี ข้อเสียอะไรบ้าง?. Everydaymarketing. https://www.everydaymarketing.co/knowledge/webinars-and-podcasts-pros-and-cons-good-to-know/
McClung, S., & Johnson, K. (2010). Examining the motives of podcast users. Journal of Radio & Audio Media, 17(1), 82-95. https://doi.org/10.1080/19376521003719391
Rainsbury, J. W., & McDonnell, S. M. (2006). Podcasts: An educational revolution in the making?. Journal of the Royal Society of Medicine, 99(9), 481-482. https://doi.org/10.1177/01410768060990092
Schramm, W. (2516). Men, messages, and media: A look at human communication. Harper & Row.
Schramm, W. (1973). The Process and Effect of Mass Communication. Edited by Wilbur Schramm and Donald F. Robert.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์เป็นของวารสาร....