วิวัฒน์ การสื่อสารต่อสู้และต่อรองการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทย
คำสำคัญ:
การวิวัฒน์, การสื่อสารต่อสู้และต่อรอง, การผลิตซ้ำละครโทรทัศน์, ละครโทรทัศน์ในสังคมไทยบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิวัฒน์ การสื่อสารต่อสู้และต่อรองการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ บุคคลที่เป็นปัจจัยภายในการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทยหรือกลุ่มผู้ผลิต และกลุ่มบุคคลที่เป็นปัจจัยภายนอกการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทยหรือกลุ่มผู้ชม โดยคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง และแบบบอกต่อปากต่อปากจำนวน 24 คน ผลการวิจัยพบว่า การผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทยผ่านการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทำให้เกิดพัฒนาการของการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทย 5 ยุคสมัย ได้แก่ ยุคที่ 1 ยุคเริ่มต้นการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ ยุคที่ 2 ยุคการเติบโตการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ ยุคที่ 3 ยุคการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์รูปแบบการปลอมตัว ยุคที่ 4 ยุคการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์รูปแบบภาคต่อ และยุคที่ 5 ยุคการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ของต่างประเทศ ค้นพบรูปแบบใหม่ของการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทย คือ รูปแบบการผลิตซ้ำโครงเรื่องที่คล้ายคลึง นอกจากนี้การสื่อสารต่อสู้และต่อรองการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทยระหว่างสองกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ผลิต มีการสื่อสารต่อสู้และต่อรอง ได้แก่ ทัศนคติของผู้ผลิต การเล่าเรื่อง และยุทธวิธีการสื่อสารการตลาด ส่วนกลุ่มผู้ชม ได้แก่ ความรู้ การยอมรับ และพฤติกรรมการรับชม โดยการสื่อสารต่อสู้และต่อรองทำให้เกิดพื้นที่วิวัฒน์ การสื่อสารต่อสู้และต่อรองการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทย ได้แก่ พื้นที่ทางด้านความคิดและความรู้สึก พื้นที่ทางด้านสังคม และพื้นที่ทางด้านธุรกิจ
References
กฤตพล สุธีภัทรกุล. (2565, 22 เมษายน). 12 ซีรีส์ต่างประเทศสุดปัง ที่ถูกรีเมคเวอร์ชันไทย. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/1000438
กฤษณ์ คำนนท์. (2564). การสร้างภาพตายตัวจากการโหยหาอดีต และการผลิตซ้ำด้วยการเชื่อมโยงตัวบทของการแต่งหน้าของนักร้องในมิวสิกวีดีโอเพลง “ได้แค่นี้” [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ]. มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
กันต์ธนัน ดำดี และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์. (2565). การบริโภคเชิงสัญญะและผลของวัฒนธรรมกระแสนิยมของไอดอลในสังคมไทย กรณีศึกษา: แฟนคลับและวงไอดอล BNK48. Connexion: Journal of Humanities and Social Sciences, 11(1), 1-20. https://www.shorturl.asia/FJHUw
กาญจนา แก้วเทพ และ สมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎี เศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กาญจนา แก้วเทพ. (2549). ศาสตร์แห่งสื่อ และวัฒนธรรมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). เอดิสันเพรสโปรดักส์.
แข มังกรวงษ์. (2560). แนวทางการสร้างสรรค์ละครโทรทัศน์ไทยที่ผลิตซ้ำโครงเรื่องเดิม. วารสารวิชาการ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 24(1), 121-130. https://www.shorturl.asia/D5JpX
ชยันต์ วรรธนะภูติ. (2549). คนเมือง: ตัวตนการผลิตซ้ำสร้างใหม่และพื้นที่ทางสังคมของคนเมือง. ใน อานันท์ กาญจนพันธุ์ (บก.), อยู่ชายขอบ มองลอดความรู้. มติชน.
ชวพร ธรรมนิตยกุล. (2550). การผลิตซ้ำรายการบิ๊กบราเธอร์ในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. CUIR at Chulalongkorn University. https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41959
ชวิตรา ตันติมาลา. (2560). พื้นที่สาธารณะและการผลิตพื้นที่: ความหมายใหม่ของความสัมพันธ์ทางสังคม. วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 10(1), 92-103. https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jlis/article/view/9947
ณภัทร อารีศิริ. (2554). การวิเคราะห์อุดมการณ์ทางสังคมที่ปรากฏในละครโทรทัศน์ไทยที่นำมาผลิตซ้ำ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]. CMU Intellectual Repository. http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/29185
ณัฏฐนิตย์ ปกป้อง. (2562). กลยุทธ์การจัดการแฟนคลับที่ส่งผลต่อการรับรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วมกับบอยแบนด์ไทยของแฟนคลับ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]. Nida Wisdom Repository. https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5141
ธัญพร เฮงวัฒนอาภา และ ปรีดา อัครจันทโชติ. (2565). การโหยหาอดีตของกลุ่มผู้รับสารผ่านเพลงไทยสากลในยุค’90s. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 21(2), 142-158. https://www.shorturl.asia/bM9Ax
นันทสิทธิ์ แก้วทิพยเนตร. (2555). พฤติกรรมการรับชมละครโทรทัศน์ของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา
วิทยาเขตชลบุรี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].
สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Rec_Man/Nanthasit_K.pdf
นิสาพร วัฒนศัพท์, ฐานิดา บุญวรรโณ, และ ศิวาภรณ์ ไชนเจริญ. (2558). ช่วงชั้นทางสังคม ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม และการอธิบายถึงความเป็นประชากรกลุ่มเปราะบางในสังคม. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 10(4), 362-376. https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4633?show=full
ปราณปริยา กำจัดภัย และ สมสุข หินวิมาน. (2563). การถ่ายโยงเนื้อหาของละครโทรทัศน์ไทยที่รีเมกจากซีรีส์เกาหลี กรณีศึกษา เรื่องลิขิตรักข้ามดวงดาว. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 8(2), 88-101. https://www.shorturl.asia/foyIM
เปิดเรตติ้ง 5 ละครดัง จากแรงเงาสู่บุพเพสันนิวาสทำคนกลับบ้านไปดูสด. (ม.ป.ป.). Kapook Drama. https://drama.kapook.com/view190047.html
ผจงจิตต์ อธิคมนันทะ. (2564). การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยรามคำแหง
เพิ่มพร ณ นคร. (2562). การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ไทย [ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]. STOUIR at Sukhothai Thammathirat Open University. https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3009
เพิ่มพร ณ นคร. (2565). วิวัฒน์ การสื่อสารต่อสู้และต่อรองการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในสังคมไทย [รายงานผลการวิจัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม]. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
เพิ่มพร ณ นคร. (2566). มองการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ในประเทศไทยผ่านแนวคิดและทฤษฎี. วารสาร
การสื่อสารและสื่อบูรณาการ คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 11(2), 64-96. https://www.shorturl.asia/0zZWv
ภาวิณี พนมวัน ณ อยุธยา. (2564). ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมที่ปรากฏในเรื่องสั้นหนังสือวันเด็กแห่งชาติ. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 13(26), 77-89. https://www.shorturl.asia/l01Bw
รันติกาญ มันตลักษ์, ธรรญธร ปัญญโสภณ, และ พีรยา หาญพงษ์พันธ์. (2559). สัมพันธบทการเล่าเรื่องของละครโทรทัศน์รีเมกเรื่องคู่กรรม. วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 9(1), 29-44. https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jlis/article/view/8377
ละครเรื่องไหนมีเรตติ้งสูงสุดตลอดกาล. (2561, 22 มีนาคม). ลงทุนแมน. https://www.longtunman. com/4938
ลัดดา จิตตคุตตานนท์. (2565). การวิเคราะห์การสื่อสารเชิงวัฒนธรรมเพื่อการผลิตซ้ำตำนานอินทขิล.
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 10(1), 90-108. https://www.shorturl.asia/Rpw2x
วรพงศ์ ไชยฤกษ์. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์: มุมมองใหม่ในการวิจัยทางภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 8(1), 135-162. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/HUSOTSU/article/view/43478
สมสุข หินวิมาน. (2545). ละครโทรทัศน์เรื่องของตบ ๆ จูบ ๆ และ ผัว ๆ เมีย ๆ ในสื่อน้ำเน่า. ใน สื่อบันเทิง: อำนาจแห่งความไร้สาระ (น. 172-246). ออล อะเบ้าท์ พริ้นท์.
สรรัตน์ จิรบวรวิสุทธิ์. (2554). พัฒนาการและสุนทรียทัศน์ในการสร้างสรรค์บทละครในโทรทัศน์ไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. CUIR at Chulalongkorn University. https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37027
สุกัญญา ศิริสมบูรณชัย และ สมสุข หินวิมาน. (2563). ภาพตัวแทนนางเอกในละครโทรทัศนไทยแนวยอนเวลา. วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิดา, 6(2), 80-92.
องอาจ สิงห์ลำพอง. (2550). การสร้างเกณฑ์มาตรฐานการผลิตละครโทรทัศน์ไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. CUIR at Chulalongkorn University. https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53433
องอาจ สิงห์ลำพอง. (2560). การบริหารจัดการรายการโทรทัศน์ในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 11(2), 209-245. https://www.shorturl.asia/bOqeR
อติโรจน์ ปพัฒน์เปรมสิริ. (2564, 23 พฤษภาคม). การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต. SciMath. https:// www.scimath.org/lesson-biology/item/7056-2017-05-23-14-43-19.
อัมพร จิรัฐติกร. (2561). เศรษฐกิจเชิงอารมณ์ของละครไทยในกัมพูชาและจีน. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 37(2), 97-128. https://www.shorturl.asia/7weSP
Popcornfor2. (2565, 20 ตุลาคม). ซีรีส์เกาหลี 10 เรื่องที่เรตติ้งสูงสุดตลอดกาล [Status update]. Facebook. https://www.shorturl.asia/xaOTF
Carnoy, M. (1984). The state & political theory. Princeton University Press.
De Certeau, M. (1984). The practice of everyday life (S. Rendall, Trans.). University of California Press.
Dedrick, J. R. (1988). Gramsci and international relations theory [Master’s thesis, The College of William and Mary in Virginia]. W&M Scholar Works. https://dx.doi.org/doi:10.21220/s2-n99s-g006
Fairclough, N. (1995). Critical discourse analysis: The critical study of language. Edward Arnold.
Golding, P., & Murdock, G. (2000). Culture, communications and political economy. In
J. Curran & M. Gurevitch (Eds.), Mass media and society (3rd ed.) (pp. 70–92). Edward Arnold.
Kroeber, A. L., & Kluckhohn, C. (1952). Culture: A critical review of concepts and definitions. Peabody Museum.
Lefebvre, H. (1996). The production of space. Blackwell.
McQuail, D. (2010). McQuail’s mass communication theory (6th ed.). Sage.
Verevis, C. (2004). Remaking film. Film study, 4(1), 87-103. https://doi.org/10.7227/FS.4.6
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์เป็นของวารสาร....