การสื่อสารการตลาดที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของแบรนด์ร้านอาหารชาบูญี่ปุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
คำสำคัญ : การสื่อสารการตลาด /ความจงรักภักดี/ ร้านอาหารชาบูญี่ปุ่นบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคที่แตกต่างกันส่งผลต่อการใช้บริการร้านชาบูญี่ปุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร (2) เพื่อศึกษาปัจจัยทางเครื่องมือสื่อสารการตลาดที่แตกต่างกันส่งผลต่อความจงรังภักดีร้านชาบูญี่ปุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของเครื่องมือการสื่อสารการตลาดต่อความจงรักภักดีร้านชาบูญี่ปุ่นของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจำนวน 400 คน
ผลการวิจัย พบว่า 1)ปัจจัยส่วนบุคคล ทั้งด้านเพศ, ระดับการศึกษา,รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และ ความถี่ในการรับประทานที่ต่างกันมีผลต่อความจงรักภักดีของแบรนด์ร้านอาหารชาบูญี่ปุ่น โดยส่วนใหญ่จะเปิดรับสื่อผ่านช่องทางเฟซบุ๊ค และเพื่อน/ครอบครัว 2) เครื่องมือสื่อสารการตลาดทั้ง 4 ด้าน ส่งผลต่อความจงรักภักดี ดังนี้ด้านโฆษณาควรเน้นการสื่อสารด้วยรูปแบบคลิปวิดิโอมากกว่าภาพนิ่ง ด้านประชาสัมพันธ์ ควรมุ่งสร้างภาพลักษณ์ที่ดีอย่างต่อเนื่อง ด้านส่งเสริมการขาย ควรเลือกจัดโปรโมชั่นส่วนลดเงินสด และด้านขายควรมุ่งใช้ความรวดเร็ว ความกระตือรือร้นของพนักงานเพื่อสร้างประสบการณ์เชิงบวกให้กับผู้บริโภค และสามารถส่งผลให้ลูกค้ากลับมาใช้บริการซ้ำได้อีก 3) เครื่องมือการสื่อสารการตลาดส่งผลต่อความสัมพันธ์ต่อความจงรักภักดี โดยผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความจงรักภักดีจากด้านการบริการของพนักงาน ส่งผลให้กลับมาทานซ้ำและแนะนำร้านแบบปากต่อปาก (Word of mouth) ด้วยปัจจัยการได้รับประสบการณ์ที่ดี จนนำไปสู่การบอกต่อร้านชาบูญี่ปุ่นกับคนอื่นๆ
References
กัลยา จยุติรัตน์. (2550). หลักการสื่อสารการตลาด. ออลบุ๊คส์พับลิชชิ่ง.
เจโทรกรุงเทพฯ. (2565). ผลการสำรวจร้านอาหารญี่ปุ่นในประเทศไทยปี 2565. Jetro Bangkok. https://www.jetro.go.jp/ext_images/thailand/food/japaneserestaurantssurvey2022th.pdf
ธุรกิจร้านอาหารปี 65 คาดพลิกกลับมาฟื้นตัวร้อยละ 5.0–9.9 การแพร่ระบาดของ Omicron และต้นทุนวัตถุดิบยังคงเป็นความท้าทายสำคัญ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3299). (2565, 5 มกราคม). ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/kecon/business/Pages/restaurant-z3299.aspx
นภวรรณ คณานุรักษ์. (2559). กลยุทธ์การตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 3). ทริปเพิ้ล.
เบญจรัตน์ รุ่งเรือง. (2564). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ภาพลักษณ์ของแบรนด์
และการสื่อสารแบบปากต่อปากที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟต์ชาบูในกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ].
BU Research. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/4833
ปิยมาภรณ์ คุ้มทรัพย์. (2555). ปัจจัยการสื่อสารทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอาง
สกินฟู้ดของประเทศเกาหลี [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี]. DSpace at Rajamangala University of Technology Thanyaburi. http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1157
รัชตะ จึงวิวัฒน์. (2566, 26 มีนาคม). ร่องรอย“สุกี้” ถึง “ชาบู-ชาบู” ญี่ปุ่นเปิดรับตะวันตก สู่การปฏิวัติแนวคิดเรื่องการกิน. ศิลปวัฒนธรรม. https://www.silpa-mag.com/culture/article_62757
วราภรณ์ เลอศักดิ์พงษา และ ณัฐนรี สมิตร. (2565). พฤติกรรมและความต้องการกลับมาใช้บริการร้านอาหารบุฟเฟต์ประเภทชาบูของวัยทำงานในเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 16(2), 65-79. https://www.shorturl.asia/GpEz7
วศิน อุ่ยเต็กเค่ง. (2559). การศึกษากลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดออนไลน์ของธุรกิจภาพยนตร์ออนไลน์รูปแบบสตรีมมิ่งในประเทศไทย [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. BU Research. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2288
วิชยา ทองลัพท์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการร้านอาหารประเภทชาบูของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. TU Digital Collections. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:92880
วิทวัส รุ่งเรืองผล. (2566, 17 กุมภาพันธ์). เส้นทางสู่ความภักดี From customer journey to brand loyalty. Marketeer. https://marketeeronline.co/archives/297757
สถิติประชากรทางการทะเบียนราษฎร. (ม.ป.ป.). กรมการปกครอง, สำนักบริหารการทะเบียน. https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/statmonth/#/mainpage
สิทธิ์ ธีรสรณ์. (2562). การสื่อสารทางการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 5). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิทธิโชค แก้วขาว. (2555). ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเชียร์ฟุตบอล สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส เอฟซี [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสยาม]. มหาวิทยาลัยสยาม.
เสรี วงษ์มณฑา. (2542). ครบเครื่องเรื่องการสื่อสารการตลาด. วิสิทธิ์พัฒนา.
Jan. (2563, 12 พฤษภาคม). ถอดกลยุทธ์ Brand Loyalty ดึงผู้บริโภคไม่ให้เปลี่ยนใจ แถมสร้าง ‘สาวก’ ซื้อซ้ำบอกต่อ. Brand Buffet. https://www.brandbuffet.in.th/2020/05/cmmu-reported-how-to-hook-build-brand-loyalty/
SME Startup. (2563, 14 พฤษภาคม). How to hook 4E ยกกำลัง 2 เทคนิคมัดใจลูกค้ายุคดิจิทัล. https://www.smethailandclub.com:8081/startup-digitalmarketing/5818.html
Ayanso, A. (2015). Business and technology trends in social CRM. In Handbook of research on managing and influencing consumer behavior (pp. 295-309). IGI Global.
Howard, D., & Kerin, R. (2013). A surname brand effect explanation for consumer brand preference and advocacy. Journal of Product & Brand Management, 22(5-6). 362-370. https://doi.org/10.1108/JPBM-01-2013-0238
Pine, B. J., & Gilmore, J. H. (1998). Welcome to the experience economy. Harvard Business Review, 76, 97-105. https://hbr.org/1998/07/welcome-to-the-experience-economy
Schmitt, B. (2010). Experience marketing: Concepts, frameworks and consumer insights. Foundations and Trends® in Marketing.
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis. Harper & Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์เป็นของวารสาร....