การพัฒนาตัวชี้วัดการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ เป็นทางเลือกที่สำคัญ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศ เพื่อให้เกิดการพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อชุมชน ที่มีการดำเนินการด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการท่องเที่ยวชุมชนในประเทศไทย การเรียบเรียงบทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์แนวความคิดทั้งภาคทฤษฏี และภาคปฏิบัติ ของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน และ 2) การพัฒนา ตัวชี้วัดเบื้องต้น ของการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นวิธีการสร้าง หรือพัฒนาตัวบ่งชี้ แบบนิยามเชิงทฤษฎีโดยการทบทวนวรรณกรรม แนวความคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาเบื้องต้น สามารถกำหนดตัวชี้วัดการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืนได้ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การจัดการด้านการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว /ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยว, 2) การจัดการด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว, 3) การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว, 4) การจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน และศูนย์การบริการข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว, 5) บุคลากร และนักสื่อความหมายท้องถิ่น โดยแต่ละองค์ประกอบจะประกอบด้วยตัวชี้วัด ที่ใช้วัดระดับประสิทธิภาพ และคุณภาพ ของแต่ละองค์ประกอบ ซึ่งจะเป็นเครื่องชี้ ให้เห็นถึงทิศทางของการพัฒนา ที่จะทำให้เกิด การท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน
Article Details
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ ตารางประกอบ ที่ตีพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแต่อย่างใด
บทความที่เสนอพิจารณาในวารสาร e-JODIL ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยส่งไปลงพิมพ์ เผยแพร่ หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร
References
กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2557).โครงการ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ สัมผัสภูมิปัญญาท้องถิ่น. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2559 จาก www.mots.go.th/ewtnews.php?nid=5780\
จีระนันท์ ทองสมัคร. (2556). การท่องเที่ยวสร้างสรรค์: ทิศทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนสำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยวกระทรวงการท่องเที่ยว. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 8(2), 92-100.
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2556). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: การรับรู้ของนักท่องเที่ยวความพร้อมของเจ้าของกิจกรรมและความเป็นไปได้ของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2558 จาก www.dasta.or.th/.../1615
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. . (2556). โครงการต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์.สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2556 จาก www.dasta.or.th/creativetourism/th/projectactivies/117-117.html
ชูกลิ่น อุ่นวิจิตร. (2548). การพัฒนาชุมชนต้นแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดเชียงราย. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2559 จาก www.readgur.com/doc/.../การท่องเที่ยวโดยชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
นิสวันต์ พิชญ์ดำรง. (2553). ทุนวัฒนธรรม: ขุมทรัพย์ของเศรษฐกิจสร้างสรรค์.วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 47(4), 13-17.
ประเวศ วะสี. (2555). ชุมชนท่องเที่ยวตามวิถีพอเพียง. การสัมมนาก้าวใหม่ ก้าวที่ยิ่งใหญ่ ก้าวตามวิถีไทย สู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. 2 มิถุนายน 2555. สำนักงานพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี: เชียงใหม่.
พิจาริณี โล่ชัยยะกูล. (2555). ความสำคัญของการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2558 จาก http://TATreviewMagazine.com%20-%20.
ภัทรจิต จุมพลกอซโซลี. (2553). ถอดบทเรียนเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากต่างประเทศ. วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 47(4), 32-36.
ภัยมณี แก้วสง่า. (2555). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ : ทางเลือกใหม่ของการท่องเที่ยวไทย. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 6(1), 91-109.
ภูริวัจน์ เดชอุ่ม. (2556). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: กรอบแนวคิดสู่แนวทางปฏิบัติสำหรับประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรฉบับภาษาไทย, 33(2), 331-366.
ภิสันติ์ ตินะคัต. (2559). การท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์เครื่องมือของการพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2559 จาก www.nuic.nu.ac.th/Upload/File/039.pdf.
วรวิทย์ อวิรุทธ์วรกุล. (2553). การเพิ่มคุณค่าวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย: กรณีศึกษาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 47 (4), 19-24.
วันเพ็ญ ผ่องกาย. (2549). การพัฒนาตัวบ่งชี้สำหรับประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ไม่ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิกิตต์ หินแก้ว. (2553). การจัดทำตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร. (การค้นคว้าอิสระปริญญาโท ไม่ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.
วิทยา อินทร์สอน. (2555). การตัดสินใจในการหาแนวทางเลือกเครื่องฉายรังสีอินฟราเรดเพื่อกำจัดแมลงในข้าวสารหอมมะลิอินทรีย์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ไม่ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ศุภวรรษ เชื้อเมืองพาน. (2556). การศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนกรณีศึกษาบ้านไร่กองขิงตำบลหนองควาย อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารแก่นเกษตร, 41(1), 679-684.
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์. (2556). ท่องเที่ยวสร้างสรรค์: เครื่องมือสำคัญนำไปสู่ชุมชนยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน2557 จากdoc.qa.tu.ac.th/documente/.../Creative%20Tourism%2020%20aug%2055_spot.pdf
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์. (2556). หนังสือคุ่มือการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: องค์การ บริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน.
สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน. (2555). เอกสารประกอบสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ. วันที่ 27-29 มิถุนายน 2555.
สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2555). การพัฒนาอย่างยั่งยืน Sustainable Development. สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2558, จากhttp://www.iei.or.th/
media/www/file/423/34361211378723017.pdf
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย. (2556). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน.ประชาคมวิจัย, (57), 15-21. สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2559, จาก www.trf.or.th/index.php?option=comcontent&view=article&id...
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยวกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2549). คู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพ แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2555). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. สืบค้นเมื่อ20 กันยายน 2559 จาก htpp://www.dasta.or.th/th/sustain/sustainablecreative-tourism.
____ . (2555). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. สืบค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2559, จาก www.dasta.or.th/th/ข้อบังคับ-อพท/item/538-538.
____ . (2559). โครงการพัฒนาเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2560, จาก zeekway.com/สำนักงานพื้นที่พิเศษ-อพ/.
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ. (2553). เศรษฐกิจสร้างสรรค์. Thailand’s Creative Economy. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2559, จาก www.chulapedia.chula.ac.th/index.php/เศรษฐกิจสร้างสรรค์.
Cohen, E. (1996). Thai Tourism Hill Tribes Islands and Open-ended Prostitution. Bangkok: White Lotus.
Johnstone, J. N. (1981). Indicators of Education Systems. London: UNESCO.
Richards, G. (2010). Creative Tourism and Local Development. pp. 78-90. InWurzburger, R. et al. Creative Tourism: A Global Conversation: How to Provide Unique Creative Experiences for Travelers. Worldwide, Santa Fe: Sunstone Press.