ความสัมพันธ์ระหว่างความคลั่งไคล้ศิลปินและความสุขเชิงอัตวิสัย ในแฟนคลับเยาวชน

Main Article Content

ศิรินทร์ ตันติเมธ
อรัญญา ตุ้ยคัมภีร์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างความคลั่งไคล้ศิลปินและความสุขเชิงอัตวิสัยในแฟนคลับเยาวชน กลุ่มตัวอย่างคือ แฟนคลับเยาวชน จำนวน 100 คน อายุเฉลี่ย 21.88 (+ 2.4 ปี) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรความคลั่งไคล้ศิลปิน และมาตรวัดความสุขเชิงอัตวิสัย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการแจกแบบสอบถาม ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน พบว่า ความคลั่งไคล้ศิลปินรูปแบบความชื่นชอบเพื่อความบันเทิงและสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับมาตรวัดความสุขเชิงอัตวิสัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (r=.24, p < .05) ส่วนความคลั่งไคล้ศิลปินรูปแบบความชื่นชอบแบบเข้มข้นและยึดติด ไม่มีความสัมพันธ์กับสุขภาวะของแฟนคลับเยาวชน (r=.14, ns)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คัชพล จั่นเพชร. (2559). การบริหารจัดการในยุคข้อมูลข่าวสาร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 6(1). http://e-jodil.stou.ac.th/page/Showindex.aspx?idindex=518

นภาพร ลัคโนทัย. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพกับความคลั่งไคล้ศิลปินดาราในกลุ่มแฟนเยาวชนหญิง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ คณะจิตวิทยา ไม่ตีพิมพ์). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พงษ์ วิเศษสังข์. (2558). การเปิดรับโทรทัศน์และการรับรู้ความเป็นจริงทางสังคมของนักศึกษาหญิง. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 5(2). http://e-jodil.stou.ac.th/ page/Showindex.aspx?Idindex=510

พีรภา สุวรรณโชติ. (2551). การสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกึ่งความจริง และการเรียนรู้คุณค่าทางบวกจากศิลปินนักร้องเกาหลีของกลุ่มแฟนคลับ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

หยกฟ้า อิศรานนท์. (2551). อิทธิพลของบุคลิก13ภาพแบบหลงตนเอง และความไม่สอดคล้องระหว่างการเห็นคุณค่าแห่งตนโดยนัยและการเห็นคุณค่าแห่งตนที่รับรู้ ต่อสุขภาวะทางจิต: การวิเคราะห์อิทธิพลของตัวแปรกำกับและตัวแปรส่งผ่าน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา ไม่ตีพิมพ์). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Maltby, J., Day, L. and McCutcheon, L, E. (2004). Celebrity worship, cognitive flexibility, and social complexity. Personality and Individual Differences, 37, 1475–1482.

Maltby, J., Day, L. and McCutcheon, L, E. (2004). Personality and coping: A context for examining celebrity worship and mental health. British Journal of Psychology, 95, 411–428.

Maltby, J., Day, L. and McCutcheon, L, E. (2006). Extreme celebrity worship, fantasy proneness and dissociation: Developing the measurement and understanding of celebrity worship within a clinical personality context. Personality and Individual Differences, 40, 273–283.

Maltby, J., Houran, J., Lange, R., Ashe, D. and McCutcheon, L. E. (2002). Thou shalt worship no other gods—unless they are celebrities: The relationship between celebrity worship and religious orientation. Personality and individual differences, 32 (7), 1157-1172.

McCutcheon, L, E., Lange, R. and Houran, J. (2002). Conceptualization and measurement of celebrity worship. British Journal of Psychology, 93, 67–87.

Reeves, R. A., Baker, G. A. and Truluck, C. S. (2012). Celebrity Worship, Materialism, Compulsive Buying, and the Empty Self. Psychology and Marketing, 29(9), 674–679.

Sansone, R, A. and Sansone, L, A. (2014). “I’m your number one fan”- A clinical look at celebrity worship. Innovations in Clinical Neuroscience, 11(1-2), 39-43.

Sheridan, L., North, A. and Maltby, J. (2007). Celebrity worship, addiction and criminality. Psychology, Crime & Law,13(6), 559-571.

Stever, G. S. (2011). Celebrity Worship: Critiquing a Construct. Journal of Applied Social Psychology, 41(6), 1356–1370.

Veenhoven, R. (2003). Hedonism and Happiness. Journal of Happiness Studies, 4, 437-457.