การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาระรับผิดชอบของรัฐบาลในประเทศไทย: ผลกระทบของวัฒนธรรมระยะห่างของอำนาจ
คำสำคัญ:
วัฒนธรรม, การมีส่วนร่วม, ภาระรับผิดชอบบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลกระทบของวัฒนธรรมระยะห่างของอำนาจในประเทศไทยต่อการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาระรับผิดชอบของรัฐบาล โดยต้องการชี้ให้เห็นว่าปัจจัยเชิงทัศนคติ เช่น ค่านิยมและวัฒนธรรมนั้น ส่งผลต่อความสำเร็จของนโยบายไม่น้อยไปกว่าการเปลี่ยนแปลงปัจจัยเชิงโครงสร้าง เช่น โครงสร้างทางสถาบันและกฎหมาย โดยทำการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาระรับผิดชอบของประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา และ นำเสนอผลกระทบของวัฒนธรรมประจำชาติต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
References
ภาษาอังกฤษ
Bowornwathana, B. (2000). Governance reform in Thailand: Questionable assumptions, uncertain outcomes. 13(3), 393-408.
Dye, T. R. (1992). Understanding public policy, Prentice Hall Englewood Cliffs, NJ.
Edwards, G. C. (1980). Implementing public policy, Congressional Quarterly Press.
Heady, F. (2001). Public Administration, A Comparative Perspective, CRC Press.
Hofstede, G. (1991). Cultures and organizations. Intercultural cooperation and its importance for survival. Software of the mind.
Kraay, A., Kaufmann, D., & Mastruzzi, M. (2010). The worldwide governance indicators: methodology and analytical issues, The World Bank.
Matland, R. E. (1995). Synthesizing the implementation literature: The ambiguity-conflict model of policy implementation. 5(2), 145-174.
Mulder, M. (2012). The daily power game (Vol. 6), Springer Science & Business Media.
Sabatier, P., & Mazmanian, D. J. P. a. (1979). The conditions of effective implementation: A guide to accomplishing policy objectives. 481-504.
Van Meter, D. S., & Van Horn, C. E. (1975). The policy implementation process: A conceptual framework. 6(4), 445-488.
Verba, S., & Almond, G. (1963). The civic culture: Political attitudes and democracy in five nations, Princeton, NJ: Princeton University Press.
ภาษาไทย
พฤทธิสาณ ชุมพล, ม. ร. ว. (2010). ระบบการเมือง : ความรู้เบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 11 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม) สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิทยา บวรวัฒนา. (2555). รัฐประศาสนศาสตร์ : ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค.ศ. 1887-ค.ศ. 1970) (พิมพ์ครั้งที่ 17). กรุงเทพฯ : ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
บทความที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทัศนะและข้อคิดเห็นจาก บทความในวารสารเป็นของผู้เขียน ไม่ถือเป็นความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำและศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา การนำบทความในวารสารไปตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตจาก กองบรรณาธิการ