This is an outdated version published on 2021-12-31. Read the most recent version.

หลักการความรับผิดชอบในการปกป้อง(R2P) กับวิกฤติการณ์การเมืองในเมียนมาร์

ผู้แต่ง

  • ผศ.ดร.ปราณี ทิพย์รัตน์ Chulalongkorn University

คำสำคัญ:

ความรับผิดชอบในการปกป้อง, วิกฤติการเมืองในเมียนมา, อาเซียน

บทคัดย่อ

จุดประสงค์ของบทความชิ้นนี้ คือ (1) เพื่ออธิบายว่า หลักการ R2P คืออะไร โดยแสดงถึงจุดกำเนิด พัฒนาการ และการนำไปใช้ในทางปฎิบัติตลอดเวลาสองทศวรรษ (2) เพื่อแสดงถึงจุดยืนและบทบาทของอาเซียนต่อหลักการ R2P (3) เพื่ออธิบายว่าวิกฤตการณ์ทางการเมืองในเมียนมาร์ ณ วันนี้ เข้าข่ายการนำมาตรการดังที่ระบุไว้ในบรรทัดฐาน R2P ดังที่ฝ่ายต่อต้านรัฐบาลทหารพม่า และ องค์กรพัฒนาเอกชนในหลายประเทศอ้างถึง หรือไม่

References

Ramesh Thakur and Peter Malcontent, eds., (2004). From Sovereign Impunity to International Accountability: The Search for Justice in a World of States. Tokyo: UN University Press.

Ramesh Thakur and Vesselin Popovski, (2008). “The Responsibility to Protect and Prosecute: The Parallel Erosion of Sovereignty and Impunity,” Yearbook of International Law and Jurisprudence .Oxford: Oxford University Press, pp. 39-61

UN General Assembly (UNGA), “2005 World Summit Outcome,”. A/60/L.1, September 15, 2005, ย่อหน้าที่ 138-140

เผยแพร่แล้ว

2021-12-31

Versions