การจัดเส้นทางการขนส่งสินค้าโดยการเปรียบเทียบระหว่างการใช้วิธีเซฟวิ่งอัลกอริทึม และวิธีขั้นตอนวิธีการเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด อัลกอริทึม

ผู้แต่ง

  • เกศินี สือนิ

คำสำคัญ:

การจัดเส้นทาง, Savings Algorithm, Nearest Neighbor Algorithm, ต้นทุนการขนส่ง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการจัดเส้นทางการขนส่งสินค้าของบริษัทกรณีศึกษาโดยศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการจัดเส้นทางการด้วยวิธีเซฟวิ่งอัลกอริทึม (Saving Algorithm) และ ขั้นตอนวิธีการเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด อัลกอริทึม (Nearest Neighbor Algorithm)โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเส้นทางในการจัดส่งสินค้าแบบเดิมของบริษัทกรณีศึกษา และนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบการจัดเส้นทางแบบใหม่เพื่อทำให้สามารถลดต้นทุนการขนส่งสินค้าได้ ซึ่งผลจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบทั้ง 2 วิธี มีผลการวิจัยดังนี้ คือ 1. การจัดเส้นทางโดยการใช้วิธีเซฟวิ่งอัลกอริทึม (Saving Algorithm) ทำให้ใช้รถขนส่ง 3 คัน มีระยะทางรวมทั้งหมดคิดโดยเฉลี่ยเท่ากับ 513.59 กิโลเมตรต่อวัน สามารถลดระยะทางที่ใช้ทั้งหมด 429 กิโลเมตรต่อวัน ต้นทุนลดลงร้อยละ 57.37          2. การจัดเส้นทางโดยการใช้ ขั้นตอนวิธีการเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด อัลกอริทึม (Nearest Neighbor Algorithm) ทำให้ใช้รถขนส่งทั้งหมด 3 คัน มีระยะทางรวมทั้งหมดโดยเฉลี่ยเท่ากับ 405.68 กิโลเมตรต่อวัน ต้นทุนลดลงร้อยละ 58.42

References

Chaiwongsakda, N. and et al., (2015). Arranging transportation routes using safe running algorithms and models : Traveling salesman problem case studies of drinking water factories. TJOR, 3(1), 51-61.

Clarke, G. & Wright, J. (1964). Scheduling of vehicles from a central depot to a number of delivery points. Operations Research. 12(4). 1964. 568-581.

Government Savings Bank (2018). Sunrise – Sunset Industry, 2018 . Retrieved from https://www.gsbresearch.or.th/wp-content/uploads/2018/02/IN_transport_61_detail.pdf

Hongsuwan, P., Chantaraksa, W. & Chuapisutikul, S. (2013). Education for increasing the efficiency of drinking water transportation route Samut Songkhram province.Master degree engineering thesis, Mahidol university.

Limwatanakun, K. (2015). Freight routing and truck area management 4 Wheels. Master of science thesis. Bangkok; University of technology metropolis.

Manangam, A. & Sri Pathom Sawatdi, K. (2015). Solving the problem of vehicle routing with Limited time for large trucks By heuristics. Case study: transportation of bricks in Bangkok and perimeter. Master's thesis, Technological college industrial, King Mongkut's university of technology north Bangkok.

Nadarajah, S. & Bookbinder, JH. (2007). Less-Than-Truckload carrier collaboration problem: modeling framework and solution approach. Journal of Heuristics. 19(6). 917-942.

Rinmukda, W., Phitphibun, T., Srisuknam, K. and Watthanawonwong, A. (2016). The Study of the Appropriate Freight Routing Model for Reducing Freight Costs: A Case Study of Fruit Selling Company ABC. Panyapiwat Institute of Management.

Si Mueang, K. (2007). Finding the number of trucks that are suitable for transportation of goods in the retail business. A case study of Tops Supermarket. Master of engineering thesis, King Mongkut's university of technology north Bangkok.

Songkhan, C., Santichuwong, N. & Tan Klang, W. (2015). Solving the time line transport problem by heuristics A case study of an automotive parts manufacturing company. Master thesis, Engineering and architecture, Rajamangala university of technology Bangkok.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-07

How to Cite

สือนิ เ. (2020). การจัดเส้นทางการขนส่งสินค้าโดยการเปรียบเทียบระหว่างการใช้วิธีเซฟวิ่งอัลกอริทึม และวิธีขั้นตอนวิธีการเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด อัลกอริทึม. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 12(2), 1–14. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ecbatsu/article/view/240332