การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายมิติพื้นที่และข้อสังเกตต่อการกระจุกตัวและความเหลื่อมล้ำรายจังหวัด

ผู้แต่ง

  • พิชิต รัชตพิบุลภพ คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

DOI:

https://doi.org/10.55164/ecbajournal.v16i1.259931

คำสำคัญ:

การจัดสรรงบประมาณมิติพื้นที่, สัมประสิทธิ์จินี, งบประมาณรายจังหวัดต่อหัว, ทฤษฎีการจัดสรรงบประมาณ

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอเรื่องการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายตามพื้นที่ของประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2559-2561 และเน้นการจัดสรรงบประมาณรายจังหวัดโดยใช้เศรษฐศาสตร์สถาบันเป็นกรอบวิเคราะห์ วัตถุประสงค์เพื่อการเปรียบเทียบระหว่างพื้นที่ ซึ่งการจัดสรรงบประมาณสามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีต่างๆ เช่น 1) ปัจจัยเชิงสถาบัน 2) อำนาจต่อรองของหน่วยงาน 3) งบประมาณตอบสนองการเติบโต    4) นโยบายที่ตอบสนองต่อปัญหาเฉพาะ และ 5) นโยบายเพื่อความเสมอภาค วิธีการศีกษาใช้การคำนวณด้วยค่าสัมประสิทธิ์จินี วัดค่าความเหลื่อมล้ำซึ่งแสดงด้วยงบประมาณรายจ่ายต่อหัว จากนั้นจังหวัดต่าง ๆ จะถูกจัดเป็นกลุ่มตามงบประมาณรายจ่ายต่อหัว ผลการศึกษาพบว่า การจัดสรรงบประมาณมีแนวโน้มที่จะกระจุกตัวในจังหวัดภาคกลางและกระจายไม่เท่ากันทั่วภูมิภาค บทความนี้มีข้อจำกัดบางประการเนื่องจากการศึกษาค่อนข้างสั้นและควรศึกษาเพิ่มเติมด้วยการรวมข้อมูลจนถึงปีปัจจุบัน (พ.ศ.2562 ถึงปัจจุบัน)

References

Crowley, G. R. (2019). The Law of 1/n Revisited: Distributive Politics, Legislature Size, and the Costs of Collective Action. Southern Economic Journal, 86(2), 667-690.

Gehring, K., & Schneider, S. A. (2018). Towards the Greater Good? EU Commissioners Nationality and Budget Allocation in the European Union. American Economic Journal: Economic Policy, 10(1), 214-239.

Kemmerling, A., & Bodenstein, T. (2006). Partisan Politics in Regional Redistribution: Do Parties Affect the Distribution of EU Structural Funds across Regions?. European Union Politics, 7(3), 373-392.

Larcinese, V,, Rizzo, L., & Testa, C. (2006). Allocating the U.S. Federal Budget to the States: the Impact of the President. Journal of Politics, 68(2), 447-456.

Livert, F., & Gainza, X. (2018). Distributive Politics and Spatial Equity: The Allocation of Public Investment in Chile. Regional Studies, 52(3), 403-415.

Luca, D., & Rodriguez-Pose, A. (2015). Distributive Politics and Regional Development: Assessing the Territorial Distribution of Turkey’s Public Investment. The Journal of Development Studies, 51(11), 1518-1540.

Pang, M., Tafti, A., & Krishnan, M.S. (2016). Do CIO IT Budgets Explain Bigger or Smaller Governments? Theory and Evidence from U.S. State Governments. Management Science, 62(4), 1020-1041.

Patmasiriwat, D., & Ratchatapibhunphob, P. (2016). Departmental Budget Appropriation of Thai Government. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkron Rajabhat University, 10(3), 227-244.

Portrafke, N. (2011). Does Government Ideology Influence Budget Composition? Empirical Evidence from OECD Countries. Economics of Governance, 12(2011), 101-134.

Young, A. T., & Sobel, R. S. (2013). Recovery and Reinvestment Act Spending at the State Level: Keynesian Stimulus or Distributive Politics?. Public Choice, 155(3/4), 449-468.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-01-31

How to Cite

รัชตพิบุลภพ พ., & ปัทมสิริวัฒน์ ด. (2024). การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายมิติพื้นที่และข้อสังเกตต่อการกระจุกตัวและความเหลื่อมล้ำรายจังหวัด. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 16(1), 19–34. https://doi.org/10.55164/ecbajournal.v16i1.259931