การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ออนไลน์กับการศึกษาในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

ธนะวัฒน์ วรรณประภา
อมรรักษ์ ทศพิมพ์

บทคัดย่อ

การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ออนไลน์  (Online learning environment)  และการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือน (Virtual learning environment)  คำสองคำนี้มีความหมายคล้ายกัน คือ เป็นการออกแบบและจัดสิ่งอำนวยความสะดวกในระบบอินเทอร์เน็ตที่เอื้อต่อการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์  ซึ่งลักษณะของการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนออนไลน์และการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนเสมือนมีความแตกต่างไปจากการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่จัดขึ้นในชั้นเรียน  ปัจจุบันแหล่งการเรียนรู้ในอินเตอร์เน็ตมีการจัดสภาพให้มีลักษณะที่ตอบสนองกับความต้องการของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิชาการ

References

ครูน้อง. (ม.ป.ป.) การพัฒนาทักษะ/กระบวนการแก้ปัญหา. สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/khunkrunong/2
โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2562). สืบค้นจาก https://mooc.thaicyberu.go.th/about-us/#1542610240410-cccf2869-222c

วรัท พฤกษากุลนันท์. (2550). การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction). สืบค้นจาก https://www.kroobannok.com/133

วิชุดา รัตนเพียร. (2542). การเรียนการสอนผ่านเว็บ: ทางเลือกใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาไทย. วารสารครุศาสตร์, 27(3), หน้า 29-35.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2552). "ห้องเรียนเสมือน" (Virtual Classroom) คืออะไร ? สืบค้นจาก https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=14179&Key=hotnews

สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ . วิจัยและนวัตกรรม. (2562). เข้าถึงได้จาก https://www.thaicyberu.go.th/th/node/586273

สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ. (2558). การออกแบบและพัฒนาสภาพแวดล้อมทางการศึกษา. มหาสารคาม: ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสารคาม.

Abbas Abdoli-Sejzi. (2015). Augmented Reality and Virtual Learning Environment. Journal of Applied Sciences Research, 11(8), 1-5.

Princeton University. (2018). Online learning environments. New Jersey: Princeton University.