การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ รายวิชาประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Main Article Content

วิไลพร สำเภานนท์
ปริญญา ทองสอน
ปานเพชร ร่มไทร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณในรายวิชาประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ กลุ่มทดลองจัดการเรียนรู้โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ จำนวน 39 คน และกลุ่มควบคุมจัดการเรียนรู้โดยวิธีการสอนแบบปกติคน จำนวน 39 คน รวม 78 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบปกติ แบบวัดความสามารถใน  การคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ ดังนี้


1. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยกลุ่มที่เรียนโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ สูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05


2. ผลการเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์สูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

จิราพร ยมนา. (2554). ผลการสอนด้วยวิธีการทางประวตัศิาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภูเก็ต สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเมืองถลาง จังหวัดภูเก็ต (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.

เฉลิม มลิลา นิติเขตต์ปรีชา. (2559). เทคนิควิธีการสอนประวัติศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เชาวลิต อัครปัญญาวิทย์. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดอย่างมี วิจารณญาณ เรื่อง ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

ฐากร สิทธิโชค. (2557). การคิดอย่างมีวิจารณญารในกระบวนการเรียนรู้สังคม. วารสารมนุษศาสตร์สังคมศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ, 9(2), 87-101.

ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บรรจง อมรชีวิน. (2556). Critical Thinking การคิดอย่างมีวิจารณญาณ. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2541). การพัฒนาการสอน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.

เบญจมาศ บุญญะวัติพงศ์. (2560). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์และการคิดวิเคราะห์ (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.

ปกรณ์ ไพรอังกูร. (2547). การสร้างแบบประเมินและการพัฒนาการคิดวิจารณญาณของนายร้อยตำรวจ (ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

ประพันธ์ ศิริสุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

ไพศาล เรียนทัพ. (2554). ผลของการสอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการตั้งถิ่นฐานที่มั่นคงของอาณาจักรไทยในรายวิชา ส 028 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนกำแพงเพชรวิทยาคม จังหวัดกำแพงเพชร (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.

ยุวดี ชมชื่น. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ โดยประยุกต์วิธีการทางประวัติศาสตร์และการเรียนรู้แบบผสมผสาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา (พานิช). (2555). ครูสังคมศึกษากับการพัฒนาทักษะแก่นักเรียน. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2543). ครูกับการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ไทย. ใน ประเสริฐ ณ นคร วินัย พงศ์ศรีเพียร และประสาท สอ้านวงศ์ (บรรณาธิการ), คู่มือการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ไทย: จะเรียนจะสอนกันอย่างไร (น. 1-29). กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา.

วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2556). สัมภาษณ์พิเศษ ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร : ถอดรหัสมนุษย์จากมนุษย์. ประชาคมวิจัย, 19(109), 29-38.

ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ และ อุษา ชูชาติ. (2544). ฝึกสมองให้คิดอย่างมีวิจารณญาณ. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2555). แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). การสอนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ไทยหลากหลายวิธีเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สิริวรรณ ศรีพหล. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ไทยในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2558). การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่...เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

สุคนธ์ สินธพานนท์, วรรัตน์ วรรณเลิศลักษณ์ และพรรณี สินธพานนท์. (2551). พัฒนาทักษะการคิด...พิชิตการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2554). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อดิศร ศักดิ์สูง. (2554). ครูสังคมศึกษากับประวัติศาสตร์ : เทคนิคการสอนและการทำผลงานทางวิชาการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). สงขลา: นำศิลป์โฆษณา.

Alfaro-Lefevre, R. (1995). Critical thinking in nursing : A practical appoach. W.B. Saunders.

Norris, S. P. (1985). Synthesis of research on critical thinking. Eductional Leadership, May 1985, 40-45.