การศึกษาและพัฒนาการเรียนการสอนไวยากรณ์ประโยค“把”(bǎ) ของผู้เรียนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC)

Main Article Content

รัฐพร ปานมณี

บทคัดย่อ

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและพัฒนาการเรียนการสอนไวยากรณ์ประโยค “把” (bǎ) ในภาษาจีนกลางผ่านสื่อการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นแก่ผู้เรียนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในเขตพื้นที่ EEC โดยมีการพัฒนาชุดสื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพ 75/75  2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไวยากรณ์ประโยค“把” (bǎ) ในภาษาจีนกลางระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อชุดสื่อการเรียนรู้ไวยากรณ์ประโยค“把” (bǎ) ในภาษาจีนกลาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนิสิตนักศึกษาที่กำลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) จำนวน 80 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า


1. ประสิทธิภาพของสื่อการสอนเพื่อการเรียนรู้ไวยากรณ์ประโยค“把” (bǎ) ในภาษาจีนกลางที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าเท่ากับ 78.37/73.75 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ 75/75


2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไวยากรณ์ประโยค“把” (bǎ) ของผู้เรียนหลังเรียนด้วยสื่อการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01


3. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อสื่อการสอนเพื่อการเรียนรู้ไวยากรณ์ประโยค“把” (bǎ) ในภาษาจีนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นอยู่ในระดับดี

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย

References

กชนันท์ เข็มสกุลทอง, ศาวพา บัวศรี, และนุจรีย์ สีแก้ว. (2562). การพัฒนาทักษะการออกเสียง โดยใช้ ชุดฝึกการอ่านออกเสียงสัทอักษรพินอิน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนปาง ศิลาทองศึกษา จังหวัดกําแพงเพชร. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2 ประจําปี พ.ศ.2562 (น. 21-30). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2549). สถิติสําหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิดานันท์ มลิทอง. (2546). เทคโนโลยีการศึกษา:สื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือกรมวิชาการ.

เกตมาตุ ดวงมณี. (2549). ภาษาจีนสําคัญอย่างไรในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารดวงแก้ว, 11(2), 127–126.

ครองขวัญ รอดหมวน. (2562). อีอีซีบูมเศรษฐกิจภาคตะวันออก. สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/main/detail/25873?read_meta=%7B%22label%

จรัสดาว อินทรทัศน์. (2539). กระบวนการที่คํากริยากลายเป็นคําบุพบทในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์, สมเชาว์ เนตรประเสริฐ, และ สุดา สินสกุล. (2520). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: คณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2541). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฏฐ์คนันท์ พัดศรี. (2559). การพัฒนาสื่อการจัดการเรียนรู้บนเว็บ เรื่องการสนทนาภาษาจีนในชีวิตประจําวัน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, กรุงเทพฯ.

ตรีศูล เกษร, ศุภกร ทาพิมพ์ และอนงครัตน์ บังศรี. (2562). การวิเคราะห์เปรียบเทียบวากยสัมพันธ์ ประโยคที่ใช้บุพบท “ba” ในภาษาจีนและ “นำ” ในภาษาไทย. วารสารร่มพฤกษ์, 37(2), 92-102.

ถนอมศรี ฟองอรุณรุ่ง. (2563). คอลัมน์นอกรอบ. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/columns/news-476930.

ธูปทอง กว้างสวาสดิ์. (2549). การสอนภาษาอังกฤษ. มหาสารคาม: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นภาลักษณ์ ตั้งอรุณศิลป์. (2559). การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนวิชาภาษาจีนพื้นฐาน เพื่อพัฒนาการจําอักษรจีนโดยใช้เทคนิคมอร์ฟฟิ่งร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: สุริวิยาสาส์น.

ปราณี วานิชเจริญธรรม. (2524). การศึกษาพื้นความรู้ภาษาอังกฤษด้านการอ่านและการใช้ภาษาของนิสิตปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

สุพรรณี อาศัยราช, นันทวดี วงษ์เสถียร. (2557). การพัฒนาบทเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษแบบเน้นภาระงานโดยใช้ เอกสารจริงด้านสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา. (รายงานวิจัย) พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. สืบค้นจากhttp://www.royin.go.th/dictionary/

หทัยรัตน์ ประทุมสูตร. (2542). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนจังหวัดพิษณุโลก (ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

ภัทรา นิคมานนท์. (2539). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์.

มาลินี ณ นคร. (2553). การสร้างแบบเรียนเรื่องตัวสะกดภาษาไทยสําหรับชาวต่างชาติ (สารนิพนธ์ศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

ระวิวรรณ ศรีคร้ามครัน. (2539). การสอนวิชาภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

ล้วน สายยศ, และ อังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ณัฏฐ์คนันท์ พัดศร. (2560). การพัฒนาสื่อการจัดการเรียนรู้บนเว็บ เรื่อง การสนทนาภาษาจีนในชีวิตประจําวัน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, กรุงเทพฯ.

สุธินี สุขตระกูล. (2526). วิธีวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เสี่ยว อานต้า. (2547). ไวยากรณ์จีน. กรุงเทพฯ: ทฤษฎี.

อนุมานราชธน, พระยา. (2522). นิรุกติศาสตร์. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา.

Hornby, A. F. (2000). Oxford Advance Learner's Dictionary. (6th ed.). Oxford: Oxford University.

陈凯(2014).汉语比较句语义和语用对比分析(硕士论文).云南师范大学:昆明市.

韩容洙(1998).对韩语教学的介词教学.汉语学习,第六期.

黄伯荣,廖序(2011).现代汉语.北京: 高等教育出版社.

刘晓玲(2011).“把”字句在对外汉语中的教与学.语言教学研究,(5),127-128.

齐沪扬(2005).对外汉语教学语法(硕士论文).复旦大学:上海市.

吴素兰(2007).从中泰对比看泰国学生汉语常用介词的习得与教学(硕士论文).

苏州大学:苏州市.

杨加印(2009).谈谈汉语的比较句.孔子学院(中西文版),18,28-32.

周小兵(2012).对外汉语教学导论.北京:商务印书馆.