หลักเกณฑ์การวินิจฉัยพฤติกรรมทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมศึกษา เฉพาะกรณีพฤติกรรมการแข่งขันประเภทการส่งเสริมการขาย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อทำความเข้าใจและสรุปหลักเกณฑ์ที่พึงมีในการวินิจฉัยพฤติกรรมทางการค้าประเภทการส่งเสริมการขาย ซึ่งปัจจุบันมีการใช้อย่างหลากหลายรูปแบบ แต่ยังยังไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมการส่งเสริมการขาย
ที่เป็นธรรมและไม่เป็นธรรมได้ เนื่องจากพฤติกรรมส่งเสริมการขายบางกรณี อาจเป็นเพียงพฤติกรรมการแข่งขันที่รุนแรงระหว่างผู้ประกอบธุรกิจ แต่หาใช่เป็นพฤติกรรมทางการค้า
ที่ไม่เป็นธรรมไม่ ดังนั้น การค้นหาหลักเกณฑ์หรือบรรทัดฐานในการแยกแยะความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมดังกล่าวจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง
Article Details
บท
Articles
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
References
หนังสือ
พิบูล ทีปะปาล. การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย (Advertising & Sale Promotion). กรุงเทพมหานคร : มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค, 2545.
ศักดา ธนิตกุล. คำอธิบายและกรณีศึกษาพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสำนักพิมพ์วิญญูชนจำกัด, 2551.
สรวิศ ลิมปรังษี. กฎหมายการแข่งขันทางการค้า: แนวคิดพื้นฐาน เจตนารมณ์ และปัญหา: ฉบับรวมบทความ. กรุงเทพมหานคร: นิติธรรม, 2543.
เสรี วงษ์มณฑา. กลยุทธ์การตลาด: การวางแผนการตลาด. กรุงเทพมหานคร : Diamond in Business World, 2542.
สถาบันนโยบายสังคมและเศรษฐกิจ. โครงการศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายแข่งขันทางการค้าของสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และไทย: ฉบับที่ 1 การศึกษาทางด้านกฎหมาย. กรุงเทพมหานคร :
สถาบันนโยบายสังคมและเศรษฐกิจ, 2542.
สุธีร์ ศุภนิตย์. หลักการและกฎเกณฑ์แห่งพระราชบัญญัติแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2542 (Principles and Rules of the Competition Act of 1999). (ที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ รองศาสตราจารย์ สุธีร์ ศุภนิตย์ ม.ว.ม., ป.ช.
วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม 2549 ณ เมรุวัดโสมนัสวิหาร). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549.
Bork. Robert H. The antitrust paradox: a policy at war with itself. 2nd ed. New York: Free Press, 1993.
สารนิพนธ์
ปิยะ บุญชู. “ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมในธุรกิจค้าปลีก.” สารนิพนธ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2556.
งานวิจัย
สุธีร์ ศุภนิตย์ และคนอื่น ๆ. “แนวทางการพัฒนากฎหมายส่งเสริมการแข่งขันธุรกิจ
ที่เป็นธรรม.” ใน รายงานวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนากฎหมายการแข่งขันทางการค้าในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท., 2536.
วารสาร
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. “การใช้มาตรการทางกฎหมายควบคุมปฏิกรรมของผู้มีอำนาจเหนือตลาด.” วารสารนิติศาสตร์. (ธันวาคม 2534).
ระพีพรรณ พรหมเรขา. “แบบไหน? พฤติกรรมทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม.” จุลสารสำนักส่งเสริมการ แข่งขันทางการค้า. (เมษายน 2557)
เว็บไซต์
“กลยุทธ์การแข่งขัน.” http://www.oknation.net/blog/print.php?id=572635,
15 มีนาคม 2559.
“กลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อการแข่งขัน.” http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/ executive_journal/july_sep_12/pdf/aw17.pdf, 19 มีนาคม 2559.
“การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านการตั้งราคา.” http://www.unionmall.net/ index. php?lay=show&ac=article&Id=539570873, 20 มีนาคม 2559.
“การใช้สิทธิโดยไม่สุจริต.”http://digi.library.tu.ac.th/thesis/la/1198/08CHAPTER
_3.pdf, 20 มีนาคม 2559.
เฉลิมชัย ก๊กเกียรติกุล. “เกณฑ์การพิจารณาการตัดราคาเพื่อทำลายคู่แข่งขัน.”
ฉบับวันที่ 10 มิถุนายน 2556.http://chalermchainbtc.blogspot.com
/2013/06/predatory-pricing-oecd-predator-market.htm, 20มีนาคม 2559.
. “เกณฑ์การพิจารณาการตัดราคาเพื่อทำลายคู่แข่งขัน.” วันที่ 10 มิถุนายน 2556. http://chalermchainbtc.blogspot.com/2013/06
/predatory-pricing-oecd-predator-market.html. 15 กุมภาพันธ์ 2559.
“แข่งขันทางการค้า.” http://www.manager.co.th/daily/viewnews.aspx? NewsID=9570000144107, 15 ธันวาคม 2559.
“คดีข้อพิพาทระหว่างบิ๊กซีกับเทสโก้ : คดีประเดิมกฎหมายการแข่งขันทางการค้าไทย.” http://prachatai.com/journal/2012/06/40791, 9 ธันวาคม 2558.
“แนวปฏิบัติตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542
การใช้อำนาจเหนือตลาดในทางมิชอบ.” http://otcc.dit.go.th/wp- content/uploads/2015/07/Guidelines-under-Section-25.pdf,
15 ธันวาคม 2559.
“แนวปฏิบัติพฤติกรรมทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมตามมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542.” http://otcc.dit.go.th/wp- content/ uploads/ 2015/07/ Guidelines-under-Section-26.pdf. 15 ธันวาคม 2559.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. “โครงการศึกษาการปฏิบัติทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมของประเทศต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาแนวปฏิบัติตามมาตรา 29 ตามกฎหมายการแข่งขันทางการค้าตามโครงการส่งเสริมระบบการแข่งขันทางการค้าที่เกื้อหนุนต่อการส่งออก.” http://tdri.or.th/research/d2001003/ .12 กุมภาพันธ์ 2559.
OECD. “Competition on the Merits.” https://www.oecd.org/competition
/abuse/ 35911017.pdf, March 15, 2017.
The Federal Trade Commission. “Protect America’s Consumers.Competition
and innovation.” https://www.ftc.gov/public-statements/1998/
10/promoting-innovation- competition- through-aspenkodak-rule, March 15, 2017.
พิบูล ทีปะปาล. การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย (Advertising & Sale Promotion). กรุงเทพมหานคร : มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค, 2545.
ศักดา ธนิตกุล. คำอธิบายและกรณีศึกษาพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสำนักพิมพ์วิญญูชนจำกัด, 2551.
สรวิศ ลิมปรังษี. กฎหมายการแข่งขันทางการค้า: แนวคิดพื้นฐาน เจตนารมณ์ และปัญหา: ฉบับรวมบทความ. กรุงเทพมหานคร: นิติธรรม, 2543.
เสรี วงษ์มณฑา. กลยุทธ์การตลาด: การวางแผนการตลาด. กรุงเทพมหานคร : Diamond in Business World, 2542.
สถาบันนโยบายสังคมและเศรษฐกิจ. โครงการศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายแข่งขันทางการค้าของสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และไทย: ฉบับที่ 1 การศึกษาทางด้านกฎหมาย. กรุงเทพมหานคร :
สถาบันนโยบายสังคมและเศรษฐกิจ, 2542.
สุธีร์ ศุภนิตย์. หลักการและกฎเกณฑ์แห่งพระราชบัญญัติแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2542 (Principles and Rules of the Competition Act of 1999). (ที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ รองศาสตราจารย์ สุธีร์ ศุภนิตย์ ม.ว.ม., ป.ช.
วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม 2549 ณ เมรุวัดโสมนัสวิหาร). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549.
Bork. Robert H. The antitrust paradox: a policy at war with itself. 2nd ed. New York: Free Press, 1993.
สารนิพนธ์
ปิยะ บุญชู. “ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมในธุรกิจค้าปลีก.” สารนิพนธ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2556.
งานวิจัย
สุธีร์ ศุภนิตย์ และคนอื่น ๆ. “แนวทางการพัฒนากฎหมายส่งเสริมการแข่งขันธุรกิจ
ที่เป็นธรรม.” ใน รายงานวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนากฎหมายการแข่งขันทางการค้าในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท., 2536.
วารสาร
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. “การใช้มาตรการทางกฎหมายควบคุมปฏิกรรมของผู้มีอำนาจเหนือตลาด.” วารสารนิติศาสตร์. (ธันวาคม 2534).
ระพีพรรณ พรหมเรขา. “แบบไหน? พฤติกรรมทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม.” จุลสารสำนักส่งเสริมการ แข่งขันทางการค้า. (เมษายน 2557)
เว็บไซต์
“กลยุทธ์การแข่งขัน.” http://www.oknation.net/blog/print.php?id=572635,
15 มีนาคม 2559.
“กลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อการแข่งขัน.” http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/ executive_journal/july_sep_12/pdf/aw17.pdf, 19 มีนาคม 2559.
“การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านการตั้งราคา.” http://www.unionmall.net/ index. php?lay=show&ac=article&Id=539570873, 20 มีนาคม 2559.
“การใช้สิทธิโดยไม่สุจริต.”http://digi.library.tu.ac.th/thesis/la/1198/08CHAPTER
_3.pdf, 20 มีนาคม 2559.
เฉลิมชัย ก๊กเกียรติกุล. “เกณฑ์การพิจารณาการตัดราคาเพื่อทำลายคู่แข่งขัน.”
ฉบับวันที่ 10 มิถุนายน 2556.http://chalermchainbtc.blogspot.com
/2013/06/predatory-pricing-oecd-predator-market.htm, 20มีนาคม 2559.
. “เกณฑ์การพิจารณาการตัดราคาเพื่อทำลายคู่แข่งขัน.” วันที่ 10 มิถุนายน 2556. http://chalermchainbtc.blogspot.com/2013/06
/predatory-pricing-oecd-predator-market.html. 15 กุมภาพันธ์ 2559.
“แข่งขันทางการค้า.” http://www.manager.co.th/daily/viewnews.aspx? NewsID=9570000144107, 15 ธันวาคม 2559.
“คดีข้อพิพาทระหว่างบิ๊กซีกับเทสโก้ : คดีประเดิมกฎหมายการแข่งขันทางการค้าไทย.” http://prachatai.com/journal/2012/06/40791, 9 ธันวาคม 2558.
“แนวปฏิบัติตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542
การใช้อำนาจเหนือตลาดในทางมิชอบ.” http://otcc.dit.go.th/wp- content/uploads/2015/07/Guidelines-under-Section-25.pdf,
15 ธันวาคม 2559.
“แนวปฏิบัติพฤติกรรมทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมตามมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542.” http://otcc.dit.go.th/wp- content/ uploads/ 2015/07/ Guidelines-under-Section-26.pdf. 15 ธันวาคม 2559.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. “โครงการศึกษาการปฏิบัติทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมของประเทศต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาแนวปฏิบัติตามมาตรา 29 ตามกฎหมายการแข่งขันทางการค้าตามโครงการส่งเสริมระบบการแข่งขันทางการค้าที่เกื้อหนุนต่อการส่งออก.” http://tdri.or.th/research/d2001003/ .12 กุมภาพันธ์ 2559.
OECD. “Competition on the Merits.” https://www.oecd.org/competition
/abuse/ 35911017.pdf, March 15, 2017.
The Federal Trade Commission. “Protect America’s Consumers.Competition
and innovation.” https://www.ftc.gov/public-statements/1998/
10/promoting-innovation- competition- through-aspenkodak-rule, March 15, 2017.