การฟ้อนมองเซิงของชาวกุลาในจังหวัดอุบลราชธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประวัติความเป็นมาของการฟ้อนมองเซิง 2) ศึกษาองค์ประกอบ รูปแบบ และกระบวนท่าฟ้อนที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของการฟ้อนมองเซิงของชาวกุลา บ้านโนนใหญ่ ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี โดยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสังเกตเป็นเครื่องมือวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและภาคสนาม บุคลากรผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ฟ้อน นักดนตรี และชาวบ้าน ผลการวิจัยพบว่า
- ฟ้อนมองเซิง เป็นการฟ้อนที่พัฒนามาจากการฟ้อนเจิงหรือการรำดาบและรำมวยโบราณของชาวไทยใหญ่ เพื่อความรื่นเริงในหมู่ชาวบ้าน เน้นที่ความสวยงามอ่อนช้อย มีลีลาการเล่นร้องล้อกันระหว่างผู้ตีฉาบกับผู้ตีกลอง ชาวกุลาบ้านโนนใหญ่ ถือว่าเป็นศิลปะที่โดดเด่นที่ยังเหลืออยู่ และได้รับการอนุรักษ์ไว้จนถึงปัจจุบัน
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
กนกพร ปานสุวรรณ. (2559, 26 พฤษภาคม). การแต่งกายและท่ารำของการฟ้อนมองเซิง. บ้านโนนใหญ่
ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี. สัมภาษณ์.
กุณฑรัตน์ สิมเสมอ. (2559, 26 พฤษภาคม). ผู้แสดงฟ้อนมองเซิง. บ้านโนนใหญ่ ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน
จังหวัดอุบลราชธานี. สัมภาษณ์.
คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. (2544). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.
ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี. สัมภาษณ์.
กุณฑรัตน์ สิมเสมอ. (2559, 26 พฤษภาคม). ผู้แสดงฟ้อนมองเซิง. บ้านโนนใหญ่ ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน
จังหวัดอุบลราชธานี. สัมภาษณ์.
คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. (2544). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.