เรื่อง ต้นบัญญัติปฐมปาราชิก: มูลเหตุที่ทรงบัญญัติสิกขาบทประเภทครุกาบัติ ในพระปาติโมกข์

Main Article Content

พระครูศิริโสธรคณารักษ์ นาทองไชย

บทคัดย่อ

บทความนี้ ศึกษาเกี่ยวกับต้นบัญญัติปฐมปาราชิก: มูลเหตุที่ทรงบัญญัติสิกขาบทประเภทครุกาบัติในพระปาติโมกข์ที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัติสิกขาบทไว้ในพระปาติโมกข์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ 1.  ประเภทครุกาบัติ  ได้แก่  ปาราชิก 4  เป็นอาบัติที่แก้ไขไม่ได้  หากต้องเข้าไปแล้วต้องขาดจากความเป็นภิกษุ  และ  อาบัติสังฆาทิเสส  13  เป็นอาบัติที่แก้ไขได้โดยการอยู่กรรมเพื่อออกจากอาบัติสังฆาทิเสส          2.  ประเภทลหุกาบัติ  ได้แก่  นิสสัคคิยปาจิตตีย์  30,  ปาจิตตีย์  92,  ปาฏิเทสนียะ  4,  ทุกกฎ  1  และ  ทุพภาสิต 1  เป็นอาบัติประเภทที่แก้ไขเยียวยาได้โดยต้องแสดงต่อหน้าสงฆ์คือยอมรับไว้เป็นผู้ต้องอาบัติแล้ว  และอนาปัตติวาร :  ว่าด้วยผู้ไม่ต้องอาบัติ คือ 1.  ภิกษุไม่รู้สึกตัว 2. ภิกษุไม่ยินดี      3. ภิกษุวิกลจริต 4. ภิกษุมีจิตฟุ้งซ่าน 5. ภิกษุกระสับกระส่ายเพราะเวทนา  6.  ภิกษุต้นบัญญัติ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย, ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เล่มที่ 1, 4 พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2553). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2551). พระวินัยปิฎก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

วราคม ทีสุกะ. (2539). สังคมวิทยาสำหรับผู้เริ่มเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ดวงแก้ว,

สุพิศวง ธรรมพันทา. (2540). มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพฯ: ดีดีบุคสโต