วรรณกรรมเพลง เทพพร เพชรอุบล ในสี่ทศวรรษ (พ.ศ. 2511-2551)

Main Article Content

จุฑารัตน์ ก้อนบุญ

บทคัดย่อ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาเน้ือหาสาระและศิลปะการใช้ภาษาในวรรณกรรม เพลงของเทพพร เพชรอุบล โดยศึกษาเฉพาะบทเพลงที่ประพันธ์โดยเทพพร เพชรอุบล ที่ได้รับ การบันทึกลงในแผ่นเสียงในสี่ทศวรรษ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 – 2551 จ�านวน 133 เพลง ผลการวิจัย พบว่า เนื้อหาสาระในบทเพลงของเทพพร เพชรอุบลมี 8 ด้านได้แก่ ด้านความรัก ด้านวิถีชีวิตคนชนบท ด้านค่านิยม ด้านประเพณีพิธีกรรม ด้านความเช่ือ ด้านครอบครัว ด้านเศรษฐกิจ และต�านานประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ส่วนศิลปะการใช้ภาษา จ�าแนกได้ 2 ประเด็น คอื ศลิปะการรอ้ยเรยีงบทเพลงและศลิปะการใชภ้าษา ศลิปะการรอ้ยเรยีงบทเพลงมี 3 ลกัษณะ คือ การตั้งชื่อเพลงมี 3 ลักษณะคือ การสื่ออารมณ์ความรู้สึก การเสนอแก่นของเพลง การตั้ง ค�าถาม และ การบอกอาชีพ การขึ้นต้นเพลงมี 5 ลักษณะ คือ การขึ้นต้นด้วยการบอกถึงปัญหา การสนทนา การบรรยาย การเกริ่นน�า และการสรุปประเด็นแล้วขยายความ ส่วนการจบเพลง มี 4 ลักษณะคือ จบแบบแสดงความซาบซึ้งและให้ค�ามั่นสัญญา สื่อความเศร้าโศก การประชด ประชัน และการเชิญชวนให้รักท้องถ่ิน ศิลปะการใช้ภาษามี 3 ประการคือ การใช้ค�า การใช้ ถ้อยค�า และการใช้โวหาร การใช้ค�ามี 7 ลักษณะคือ ค�าภาษาถ่ิน ค�าซ้�า ค�าภาษากวี ค�าย่อ ค�าภาษาต่างประเทศ ค�าเลียนเสียง และการเล่นเสียงสัมผัส การใช้ถ้อยค�า มี 5 ลักษณะ คือ ถ้อยค�าแสดงความอาลัยอาวรณ์ ถ้อยค�าสื่อความโศกเศร้า ถ้อยค�าปลุกเร้าใจ ถ้อยค�าสรรเสริญ และส�านวน ส่วนการใช้โวหารภาพพจน์มีท้ังหมด 6 ชนิด คือ อุปมา อุปลักษณ์ อติพจน์ บุคลาธิษฐาน สัจพจน์และปฏิรูปพจน์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Jitraksa, A. (2007). A study of soctety and culture as reflexed in country song sung by Ekachai Sriwichai. (M.A. Thesis in Thai Folk law Study, Taksin University).

Jobkrabuanwan, J. (1986). The Country Song and Political View. Kuru review, 11(3), 25-81.

Kongkanant, W. (2522). Literature studies. Bangkok: Silpakorn University.

Kongsoon, S. (2006). The Analytical Study about Idioms and Figures of Speech in Thai Country Songs of “Chai Muangsing”. (M.A.Thesis in Thai, Kasetsart University). 

Kulab Mullikamas. (2005). Literary Criticism. Bangkok: Ramkhamhaeng Publising.

Liangruenrom, A. (2006). A Study of Language style and the characteristics of content in the country songs of Sala Kunawitti. (M.A.Thesis in Thai,
Kasetsart University).

Mantasutra, S. (1981). Social and political literature. Bangkok: Odeon Store.

Nakavatchara, J. (1977). Literary Criticism and Literary Studies. In Waitayakorn Literature: Literature. Bangkok: Thai Wattanapanich.

Nisachon Satra. (1999). Theme and Social Reflections from Contemporary Verses in Matichon Weeklies during 1988-1997. (M.Ed. thesis, Mahasarakham University).

Nithi Aiewsriwong. (1985). The Country songs in Thai Cultural History.
Silpawattahadham, 6(6), 94-109.

Pengkaew, L. (2006). Literacy Review. Bangkok: Aksorn Jareontat.

Petubon, T. (2008, 18 October). Country Singer. Interview.

Sivasariyanont, W. (1998). Literary and literary criticism. Bangkok: Thai Wattanapanich.

Songsilpa Suksaen. (2004). The Way of I-San in Country Songs of Mike Piromporn. (M.A. Thesis in Thai Study for development. Loei Rajabhat University).

Trisilpa Boonkhajorn. (1980). Novels with Thai society in 1932-1957. Bangkok:
Bangkok Publising.