ภาษาที่สะท้อนพฤติกรรมของวัยรุ่นไทยผ่าน “ฮอร์โมน เดอะ ซีรีส์”
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาคร้ังน้ีจุดประสงค์เพ่ือศึกษาภาษาท่ีสะท้อนพฤติกรรมวัยรุ่นผ่านบทละคร โทรทัศน์เรื่อง “ฮอร์โมน เดอะ ซีรีส์” โดยเน้นวิเคราะห์เฉพาะวรรณกรรมคือบทละคร ให้เห็น ว่าภาษาที่ใช้ สะท้อนให้เห็นพฤติกรรมของวัยรุ่นในแง่มุมใดบ้าง โดยศึกษาภาษาจากบทละคร โทรทัศน์เร่ือง “ฮอร์โมน เดอะ ซีรีส์” จ�านวน 13 ตอน ซ่ึงออกอากาศทางช่องจีเอ็มเอ็มวัน โดยใช้วิธีการอธิบายแบบและวิเคราะห์ผลข้อมูลในรูปสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive
Statistics) การวเิคราะหข์อ้มลูพนื้ฐานของกลมุ่ตวัอยา่งน�าเสนอโดยใชส้ถติริอ้ยละ (Percentage) ความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (X) ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมของตัวละครสามารถจ�าแนกได้ 5 ด้านหลัก จากท้ังหมดจ�านวนท้ังส้ิน 48 วาทกรรมดังน้ี 1) จ�านวนพฤติกรรมจากตัวละคร พบว่า 3 อันดับพฤติกรรมแรกที่พบมากที่สุด คือ (1) พฤติกรรมทางเพศ จ�านวน 15 วาทกรรม คิดเป็นร้อยละ 31.25 (2) พฤติกรรม ด้านอารมณ์ จ�านวน 10 วาทกรรม คิดเป็นร้อยละ 20.8 (3) พฤติกรรมด้านอารมณ์และพฤติกรรมทางเพศ จ�านวน 7 วาทกรรม คิดเป็นร้อยละ 14.5
2) จ�าแนกพฤตกิรรมจากตวัละครออกเปน็ 2 พฤตกิรรมใหญ่ คอื พฤตกิรรมเดยี่ว และพฤตกิรรม ที่เกิดร่วมกัน ซึ่งพบว่า (1) พฤติกรรมเดี่ยว มีทั้งหมดจ�านวน 36 วาทกรรม คิดเป็นร้อยละ 75 (2) พฤติกรรมท่ีเกิดร่วมกัน จ�านวน 12 วาทกรรม คิดเป็นร้อยละ 25 3) จ�าแนกพฤติกรรม ตามวาทกรรมพบว่าตัวละครแสดงพฤติกรรมผ่านวาทกรรมมากท่ีสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (1) ตัวละคร “วิน” จ�านวน 8 วาทกรรม คิดเป็นร้อยละ 16.6 (2) ตัวละคร “เต้ย” จ�านวน 7 วาทกรรม คิดเป็นร้อยละ 14.5 (3) ตัวละคร “กลุ่มเพ่ือน” จ�านวน 6 วาทกรรม คิดเป็น ร้อยละ 12.5
Article Details
References
Limmanching, C. (2003). Adolescent Psychology. Bangkok: Sukhothai Thammathirat Open University Press.
Na Nakorn, S.. (2007). TV Series affect The Imitation Behavior of Working Women. Master of Arts Thesis Ramkhamhaeng University.
Payomyam, S. (2002). The Community Psychological Operation. Bangkok : Sahai Pattnakarnpim Press.
Pitakchatchawan, D. (2004). Factors of the Behavior in Watching Korean TV Dramas in Bangkok. (Master project, MBA. (Management) Bangkok : The Graduate School of Srinakharinwirot University).
Srikatanyoo, Natthawut (2005). Lifestyle, Media Exposure and Purchasing Behavior of Generation Y in Bangkok. (M.A. Thesis in Advertising, Chulalongkorn University).
Suksomchoke, Pattama (2008). The Effect of TV Series on The Imitation of Early Adolescence. (Master of Arts Thesis, Ramkhamhaeng University).
Suwannatat, Chanya. (2004). Psychology and Development Psychology. Bangkok: Pattana Sueksa.
The Character Analysis of Hormones The Series. Retrieved June 9, 2015, from https://www.pantip.com/topic/30829126
Tongket, Chatkul. (2006). A Content Analysis of The Youth Culture in 1992 Thai Films. (M.A. Thesis in English, Chulalongkorn University).