การพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังตามแนวทางพระพุทธศาสนาของ โครงการแสงธรรมบำาบัด เรือนจำาจังหวัดอำานาจเจริญ1

Main Article Content

พระวันชัย จนฺทสาโร (โคตหานาม)
รัตนะ ปัญญาภา

บทคัดย่อ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพ่ือศึกษากระบวนการในการพัฒนาพฤตินิสัย ของโครงการแสงธรรมบ�าบัด เรือนจ�าจังหวัดอ�านาจเจริญ 2) เพ่ือศึกษาผลของการพัฒนา พฤตินิสัยของผู้ต้องขังตามแนวทางพระพุทธศาสนาของโครงการแสงธรรมบ�าบัด เรือนจ�า จังหวัดอ�านาจเจริญ การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพภาคสนาม โดยใช้วิธีศึกษาวิจัย จากเอกสารและการสัมภาษณ์ภาคสนาม ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการในการพัฒนาพฤตินิสัยของโครงการแสงธรรมบ�าบัด เรือนจ�าจังหวัด อ�านาจเจริญ เป็นการน�าหลักธรรมตามแนวทางของพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ ให้เหมาะสม เป็นกระบวนการฝึกอบรมท่ีผู้ต้องขังได้ฝึกฝนปฏิบัติ และพัฒนาทางกาย วาจา และปัญญา เพ่ือให้เห็นคุณโทษตามความเป็นจริงด้วยตนเองแล้วน�าความรู้น้ันมาเป็นหลัก ในการด�าเนินชีวิตที่ถูกต้องดีงาม มุ่งเน้นที่จะเสริมสร้างหลักคุณธรรม จริยธรรม น้อมน�าจิตใจ สู่แนวทางท่ีดีแก่ผู้ต้องขัง โดยเข้าใจและปฏิบัติตามหลักการกฎเกณฑ์ท่ีได้ก�าหนดไว้ ผ่านกิจกรรมและการบ�าเพ็ญประโยชน์ตามสถานที่ต่าง ๆ ผลของการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังตามแนวทางพระพุทธศาสนาของโครงการ แสงธรรมบ�าบัด เรือนจ�าจังหวัดอ�านาจเจริญ มี 4 ด้าน คือ 1) ด้านจิตใจ ผู้ต้องขังน้อมน�า ธรรมะเข้าสู่จิตใจ เข้าใจตนเองและผู้อ่ืนมากข้ึน มีเหตุผล มีระเบียบวินัย ต้ังใจประพฤติตน อยู่ในความดีงาม 2) ด้านสังคม ผู้ต้องขังสามารถท�างานร่วมกับผู้อ่ืนได้เป็นอย่างดี มีความสุข กับการท่ีได้ตอบแทนสังคม มีจิตส�านึกท่ีดีต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม สังคมเช่ือม่ัน ให้การยอมรับพร้อมให้โอกาสกลับคืนสู่สังคม 3) ด้านวิถีการด�าเนินชีวิต ผู้ต้องขังมีวิชาชีพ ท่ีสามารถน�าไปประกอบอาชีพสุจริตเล้ียงชีวิตและครอบครัวได้ เม่ือพ้นโทษ จะประพฤติตน เปน็คนดี ใหเ้ปน็ทยี่อมรบัและตอบแทนตอ่สงัคม ประกอบอาชพีทสี่จุรติดว้ยความมสีติ ด�ารงชพี ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4) ด้านทัศนคติทางสังคม ผู้ต้องขังรู้สึกส�านึกที่เคยกระท�า ผิดพลาดต่อสังคม เกิดความภาคภูมิใจและเช่ือม่ันต่อสังคมท่ีให้อภัยไม่มองผู้ต้องขัง เป็นคนเลวร้ายและยอบรับในการกลับเข้าสู่สังคม รวมท้ังมุ่งม่ันท่ีจะท�าความดีตอบแทนสังคม โดยไม่หวนกลับไปกระท�าความเสียหายให้สังคมอีกต่อไป 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Mekmani, P. (1982). Principles of Penology. Phranakorn: Borpit Publication.
Phradhammapitaka (P.A. Payutto). (2003). Break up the conflict. Bangkok:
Sahadhammika.
Pitakthum, S. (2011). Approaches of Control and Rehabilitation for National Security Offense Prisoners. (Master of Public Administration Thesis, Prince of Songkla University).
Sukhothai Thammathirat Open University. (2004). Criminology and Penology. (5th edit.) Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.
Taweesak, S. (2007). The Way of forgiveness in Buddhist Perspective. Buddhist Studies, 14(4): 23.