วิถีชีวิตใหม่กับสื่อสารการตลาดดิจิทัล
Main Article Content
บทคัดย่อ
ช่วงสถานการณ์ปัจจุบันที่กำลังเกิดโรคระบาดโควิด19 ทำให้ประชาชนทั่วโลกต้องมีการปรับตัวในการ
ใช้ชีวิตในรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า new normal ความปกติใหม่หรือฐานวิถีชีวิตใหม่ที่ทำให้เกิดพฤติกรรมการใช้
ชีวิตที่ต้องเว้นระยะห่างทางสังคม ใส่ใจสุขภาพของตนเอง คนรอบข้าง การเรียนการสอน ตลอดจนการ
ตัดสินใจซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ต้องใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือหลักทางธุรกิจ การขายสินค้า บริการ
โดยการผ่านทางเว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย แอปพลิเคชัน แพลตฟอร์มต่าง ๆ ต้องทำการตลาดให้สอดคล้องกับ
เปลี่ยนแปลงตามวิถีชีวิตใหม่ในยุคการตลาดดิจิทัลที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินชีวิต โดยเฉพาะ
การสื่อสารที่สะดวกรวดเร็วไม่ว่าเราจะอยู่ที่ใดก็สามารถติดต่อสื่อสารเชื่อมโยงกับคนทั่วโลก และสามารถรับรู้
ข้อมูลได้พร้อม ๆ กันนอกจากนี้เรายังสามารถหาข้อมูล ดูหนังฟังเพลง ซื้อสินค้า ทำธุรกรรมต่าง ๆ โดยใช้
เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต ซึ่งจากผลการสำรวจของสหภาพการสื่อสาร
โทรคมนาคมสากล หรือ Internationl Telecomunication Union ได้ร่วมกับแผนกประชากรโลกแห่ง
องค์การสหประชาชาติสำรวจพบว่าประชากรโลกที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตมีจำนวนมากถึง 3,174,000,000 ล้าน
คน เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรทั้งหมดทั่วโลก ณ ขณะนั้นซึ่งมีทั้งสิ้น 7,318,776,000 คน ซึ่งสรุปได้ว่ามี
ประชากรบนโลกมากกว่า 1 ใน 3 ที่สามารถเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตได้และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ทำให้เราทุกคนก้าวสู่ยุคสังคมดิจิทัล (Digital Society) อย่างหลีกเลี่ยงมิได้บทความวิชาการนี้มุ่งนำเสนอให้
เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงทางด้านการสื่อสารการตลาดในยุควิถีชีวิตใหม่ทั้งด้านรูปแบบปัจจัยตลอดจน
เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารการตลาดในยุคสังคมดิจิทัล
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
โกออนไลน์ ไทยแลนด์. (2564). Video Marketing กระแสที่กำลังมาแรง. สืบค้นเมื่อ30 สิงหาคม
, จาก https://goonlinethailand.com
ณัฐพล ม่วงทำ. (2563). อัพเดทสถิติ Digital 2020 หลังโควิด19. สืบค้นเมื่อ14 พฤษภาคม 2564,
จาก https://www.everydaymarketing.co/trend-insight/digital-2020
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2563). รู้หรือไม่ Gen ไหนมีอิทธิพลต่อแบรนด์มากที่สุด?. สืบค้นเมื่อ13 มกราคม
, จาก http://www.prachachat.net
ปิยะชาติ อิศรภัคดี. (2559). Branding 4.0. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด.
มาเก็ตติ้ง อุ๊ปส์. (2562). ล้วง Insight การใช้งาน “ดิจิทัล” ทั่วโลก 2019 “คนไทย” ใช้เน็ต 9
ชั่วโมงต่อวัน-มือถือมี 99 แอปฯ!!. สืบค้นเมื่อ30 มีนาคม 2564, จาก
https://www.marketingoops.com/reports/global-and-thailand-digital-trend-2019
วายุ จินดาพล. (2563). รายงานวิจัยผลกระทบของพฤติกรรมผูบ้ ริโภคในยุคดิจิทลัต่อการแก้ไขปัญหาเรื่อง
ร้องทุกข์ปี 2563. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). ETDA เผยผลสำรวจ IUB 63 คนไทยใช้เน็ตปังไม่ไหว
เกือบครึ่งวัน โควิด-19 มีส่วน. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.
etda.or.th/th/newsevents/pr-news/ETDA-released
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อสารในครัวเรือน
พ.ศ. 2563. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สนุกดอทคอม. (2564). แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียที่ครองใจคนไทยในปี 2021 คือ?. สืบค้นเมื่อ 30
กรกฎาคม 2564, จาก https://www.sanook.com/hitech/1533905
อรดา รัชตานนท์ และคณะ. (2564). ผลกระทบจากธุรกิจ e-commerce ต่อผู้ประกอบการท้องถิ่น.
กรุงเทพฯ ธนาคารแห่งประเทศไทย
Wartime, Kent & Ian Fenwick. (2 0 0 8 ) . DigiMarketing : The Essential Guide to New Media &
Digital Marketing. Singapore: John Wiley & Son