การแสดงออกทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์ของกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาแนวคิดการสื่อสารและการแสดงออกทางการเมือง สื่อออนไลน์ สิทธิและเสรีภาพในการแสดงออกทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์ของกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ และกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายสื่อออนไลน์ของต่างประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐสิงคโปร์ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร พ.ศ.2560 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (แก้ไขฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการแสดงออกทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์ของกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ ตลอดจนเสนอแนวทางในการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมายพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (แก้ไขฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 ผลการวิเคราะห์พบว่ารัฐบาลมีการรับรู้ถึงการแสดงออกทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์หรืออวัจนภาษาของกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ แต่ไม่เข้าใจหรือไม่สนใจถึงการแสดงออกทางการเมืองของกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ นอกจากนี้ยังมีปัญหาในการแสดงออกทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์กลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ ได้แก่ กลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ไม่สามารถแยกข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริง หรือข่าวปลอม ขาดความเข้าใจในการเผยแพร่ข้อความในสื่อออนไลน์ และการสร้างข้อความแสดงความเกลียดชังที่ต่อต้านรัฐบาล รวมทั้งการระงับการเผยแพร่หรือปิดกั้นช่องทางการเข้าถึงสื่อออนไลน์ของรัฐบาล ที่เป็นการจำกัดสิทธิและเสรีภาพการแสดงออกทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์ของกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ ซึ่งไม่สอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1948 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและการเมือง ค.ศ.1966 อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.ศ.1989 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (แก้ไขฉบับที่ 2) พ.ศ.2560
ดังนั้น ควรกำหนดมาตรการการแสดงออกทางการเมืองในเชิงสัญลักษณ์หรืออวัจนภาษา ที่เหมาะสมสำหรับเยาวชนรุ่นใหม่ และให้ความรู้ในการเผยแพร่ข้อความผ่านสื่อออนไลน์ นอกจากนี้ควรเพิ่มนิยามศัพท์“ประเภทสื่อออนไลน์และการใช้” และมาตรา “ถ้อยคำแสดงความเกลียดชังผ่านสื่อออนไลน์และบทลงโทษ” ในพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 (แก้ไขฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 และให้มีคณะกรรมการตรวจสอบการระงับการเผยแพร่หรือปิดกั้นช่องทางการเข้าถึงสื่อออนไลน์ของเยาวชนรุ่นใหม่ รวมทั้งควรออกกฎหมายป้องกันจากข้อมูลอันเป็นเท็จในสื่อสังคมออนไลน์โดยเฉพาะ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กนกนาถ ลิขิตไพรวัลย. (2563). กลยุทธ์การสื่อสารข้อมูลข่าวสารผ่านเฟซบุ๊กเพจในจังหวัดพิษณุโลก.
(วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).
กรมกิจการเด็กและเยาวชนร่วมกับสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย. (2563). รายงานการสำรวจ
ความคิดของเด็กและเยาวชน “เด็กและเยาวชนคิดและทำอะไรในแต่ละวัน”. กรุงเทพฯ: กระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
กรมองค์การระหว่างประเทศ. (2551). ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: กระทรวงการ
ต่างประเทศ.
กองธรรมศาสตร์และการเมือง. (2563). พจนานุกรมศัพท์นิเทศศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ:
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). Smart social media รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์
อย่างสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
กาญจนา แก้วเทพและสมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับ
สื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์
กาญจนา แก้วเทพ. (2552). การวิเคราะห์สื่อแนวคิดและเทคนิค. กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.
คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล. (2562). การควบคุมอินเทอร์เน็ต: การจำกัดเสรีภาพในการแสดงออก
และข้อมูลข่าวสารออนไลน์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: International Commission of Jurists.
จิรัฏฐ์ พรหมดิเรก. (2558). แฮชแท็กรณรงค์: ความคาดหวัง การเปิดรับ และการมีส่วนร่วมของผู้ใช้.
(วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
จันทพร ศรีโพน. (2564). เสรีภาพในการแสดงออกและสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารในอาเซียน:
กรณีศึกษาประเทศเวียดนาม. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
เชือก โชติช่วย. (2560). กลยุทธ์การสื่อสารของรัฐบาลพลเอกประยุทธ์จันทร์โอชา. วารสารรัชต์ภาคย์, 11
(24), (กันยายน-ธันวาคม) 212-223.
ณัฏฐกาญจน์ศุกลรัตนเมธี และนุชประภา โมกข์ศาสตร์. (2562). การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของ
เยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบัน
พระปกเกล้า.
นันทนา นันทวโรภาส. (2558). สื่อสารการเมือง:ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:
แมสมีเดีย.
ผู้จัดการออนไลน์. (2564). “คนรุ่นใหม่” ใช้ “แฮชแท็ก” สร้างชาติ. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2564, จาก
https://mgronline.com/south/detail/9640000082544
พระมหาเอกกวิน ปิยวีโรและคณะ. (2564). การสื่อสารทางการเมืองด้วยอวัจนภาษาโดยสัญญวิธีของ
เยาวชนไทยในครรลองประชาธิปไตย. วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทรรศ์, 6(2), (เมษายน –
มิถุนายน) 146-160.
พาณิชย์ สดสี. (2561). แนวทางการป้องกันและมาตรการควบคุมการเผยแพร่ข่าวเท็จในเฟซบุ๊ก.
กรุงเทพฯ: หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 60, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
พิกุล มีมานะ. (2560). รูปแบบพฤติกรรมการแสดงออกทางการเมืองตามวิถีประชาธิปไตย.วารสาร
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 4(2), (กรกฎาคม–ธันวาคม) 135-149.
แพรวพรรณ ปานนุช. (2562). นัยยะของสัญลักษณ์นกหวีดในการเคลื่อนไหวทางการเมืองของไทย.วารสาร
นิเทศศาสตร์และนวัตกรรมนิด้า, 6(1), (มกราคม-มิถุนายน) 81-106.
มานิจ สุขสมจิตร. (2563). Fake News: ข่าวลวง, ข่าวปลอม. วารสารศาสตร์, (มกราคม-เมษายน) 15-
มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2559). โครงการศึกษาวิจัยการปฏิรูปสื่อ เล่มที่ 5 การ
กำกับดูแลเนื้อหาของสื่อใหม่ (New Media). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจาย
เสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ.
ระรินทิพย์ศิโรรัตน์. (2555). อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กและพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก.
กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ.
ระวิ แก้วสุกใส และชัยรัตน์ จุสปาโล. (2556). เครือข่ายสังคม ออนไลน์: กรณีเฟสบุ๊ค (Facebook) กับ
การพัฒนาผู้เรียน. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, ฉบับพิเศษ, 195-205
รัตนาภรณ์จอมมูล. (2563). มาตรการทางกฎหมายในการกำกับควบคุมข่าวปลอมทางการเมืองบนโลก
ไซเบอร์. CMU Journal of Law and Social Sciences,13 (1) : 1-23.
ลัฐกา เนตรทัศน์. (2562). สิงคโปร์กับการควบคุมสื่อและข้อมูลข่าวสาร. Law of Asian. กรุงเทพฯ:
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2555). หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม.จุลนิติ, (มกราคม-กุมภาพันธ์) 49-67.
วุฒิพล วุฒิวรพงศ์และกิ่งกาญจน์จงสุขไกล. (2562). พัฒนาการของช่องทางในการแสดงออกทาง
การเมืองในสื่อออนไลน์ช่วง พ.ศ. 2560-2557. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 8(3),
(กันยายน-ธันวาคม) 147-167.
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ. (2558). สิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น: ความแตกต่างในการวิพากษ์
วิจารณ์ตามหลักกฎหมายของสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย. วารสารนิติสังคมศาสตร์, 8(2),
(กรกฎาคม-ธันวาคม) 152-189.
สมคิด พุทธศรี. (2563). Youth Manifesto: นโยบายเยาวชนใหม่เพื่อการเมืองของคนหนุ่มสาว, สืบค้น
เมื่อ 10 ธันวาคม 2564, จาก https://www.the101.world/youth-manifesto/
สมยศ เชื้อไทย. (2560). คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่ง: หลักทั่วไป: ความรู้กฎหมายทั่วไป.
(พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
สุเมธ แสงนิ่มนวล. (2546). แนวทางตัวอย่างการพูดในโอกาสต่าง ๆ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ:
บุ๊คแบงก์.
เสรี วงษ์มณฑา. (2546). การประยุกต์ทฤษฎีในการสื่อสาร. ในเอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎี
การสื่อสาร. (พิมพ์ครั้งที่ 20). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สำนักยุทธศาสตร์ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2563). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรม
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2563. กรุงเทพฯ: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.
องค์กร ARTICLE 19. (2558). คู่มือไขข้อสงสัยเรื่อง ‘ถ้อยคำสร้างความเกลียดชัง’. กรุงเทพฯ: กระทรวง
ต่างประเทศเนเธอร์แลนด์
เอื้ออารีย์อิ้งจะนิล. (2561). กฎหมายเกี่ยวกับการกำหนดให้รัฐเข้าถึง หรือได้มาซึ่งข้อมูลที่บุคคลสื่อสาร
ถึงกัน: กรณีศึกษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัยสำนักงานส่งเสริมวิชาการรัฐสภา สถาบัน
พระปกเกล้า
McNair Brian. (2011). An Introduction to Political communication. London: Routledge.
Lewin, K., R. Lippit, & R. K.White. (1939). Patterns of aggressive behavior in experimentally
created social climates. Journal of Social Psychology. 10:2 (May) : 271-299.
Lasswell, H.D. (2013). The Analysis of Political Behaviour. London: Routledge.
The MATTER. (2564). สรุปความหมายของการ ‘ชูสามนิ้ว’ สัญลักษณ์การเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตย
ที่เป็นสิทธิตามรัฐธรรมนูญ, สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2564, จาก