การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อบรรลุเส้นทางผู้บริโภคในยุค New Normal
Main Article Content
บทคัดย่อ
การกำหนดกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดเป็นปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ได้รับความนิยมในกลุ่มผู้บริโภค แต่เป็นเรื่องใหม่และยากสำหรับกลุ่มอาชีพชุมชน หรือผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ OTOP ที่จะกำหนดและปรับให้สอดรับกับพฤติกรรมและวิถีการดำเนินชีวิตของผู้บริโภคในยุค New Normal ที่มีลักษณะแตกต่างไปจากลักษณะพฤติกรรมการบริโภคแบบดั้งเดิม บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดที่มีการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นผลจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลในยุคปัจจุบัน โดยเนื้อหาของบทความนี้เกี่ยวกับ รูปแบบการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตอันเนื่องจากโรคไวรัสโคโรน่า เส้นทางของผู้บริโภคในอดีตมาสู่ยุคปัจจุบัน การกำหนดแผนที่เส้นทางของผู้บริโภคในยุคดิจิทัลเพื่อปรับกลยุทธ์ทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนในยุค New Normal และการใช้กลยุทธ์การสื่อสารผ่านสื่อดิจิทัลในการเข้าถึงผู้บริโภคยุค New โดยการนำเสนอเนื้อหาของบทความนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดกลยุทธ์การสื่อสารและปรับตัวของผู้ผลิตในวิสาหกิจชุมชน หรือผลิตภัณฑ์ OTOP ให้สอดรับการวิถีชีวิตยุค New Normal อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ณฐวัฒน์ คณารักสมบัติ. (2565). การสื่อสารการตลาดในยุค 4.0 เพื่อสร้างรายได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน
กรณีศึกษากลุ่มอาชีพชุมชนต้นแบบ ตำบลบางปลา จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารมหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา, 17(1) (มกราคม-เมษายน), 20-28.
ดวงฤดี อุทัยหอม และคณะ. (2563). การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการสำหรับผลิตภัณฑ์ผ้าทอกระแส
สินธุ์อำเภอกระแสสินธุ์จังหวัดสงขลา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่
วันที่ 16 สิงหาคม 2563. น 192
ธเนศ ยุคันตวนิชชัย. (2553). การสื่อสารทางการตลาดเชิงบูรณาการ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย,. 30(3), 1-16.
ธีรพันธุ์ โล่ห์ทองคำ. (2562). การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร. กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีทาง
การศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
พัชรี บอนคำ. (2562). OITA-One Village One Product โออิตะ จังหวัดเล็ก ๆ ในญี่ปุ่น
ต้นแบบ “หนึ่งชุมชนหนึ่งผลิตภัณฑ์”. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2562, จาก
https://urbancreature.co/oita-ovop-japan/
ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2563). รู้จัก Customer Journey และ Customer Journey Map. สืบค้นเมื่อ
สิงหาคม 2565, จาก https://www.popticles.com/marketing/know-your-customerjourney- and-customer-journey-map/
มาลินี คำเครือ และธีระพันธ์ โชคอุดมชัย. (2562). กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อ
พฤติกรรมการซื้อสินค้าโอทอป ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสาร
วิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 6(1), 1-8.
วรีรัตน์ สัมพัทธ์พงศ์. (2559). ยุทธศาสตร์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อสร้างคุณค่าตราสินค้า
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ของกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา
วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 11(2) (พฤษภาคม – สิงหาคม), 185-192.
อริญญา เถลิงศรี. (2563). 4 ทักษะที่นักการตลาดต้องมี เพื่อรับมือ New Normal ของโลกการตลาดยุค
หลัง Covid-19. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2563, จาก
https://www.brandbuffet.in.th/2020/04/covid-19-change-behaviornew-normal/
Ayanso, A. (2015). Business and Technology Trends in Social CRM. In Handbook of
Research on Managing and Influencing Consumer Behavior. IGI Global.
Clow, K. (2010). Integrated Advertising, Promotion, and Marketing Communications.
Pearson Custom Publishing.
e-Commerce. (2021). e-Commerce ไทย ยุคหลัง COVID-19. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2564, จาก
https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Perspective-onFuture-of-e-Commerce.aspx
Flom, J. (2011). The Value of Customer Journey Maps: A UX Designer’s Personal Journey.
From https://www.uxmatters.com/mt/archives/2011/09/the-value-of-customer
journey-maps-a-ux-designers-personal-journey.php
Gonring, M. P. (2008). Customer loyalty and employee engagement: an alignment for
value. Journal of Business Strategy, 29(4), 29-40.
Gram Digital. (n.d.). Digital Communication สำคัญกับธุรกิจอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2564,
จาก https://www.gramdigital.net/blog/digital-communication.
Greene, M., Riley, E., Card, D., Mitskaviets, I., Bowen, E. & Wise, J. (2009). Justifying social
marketing spending. Forrester Research.
Howard, D. & Kerin, R. (2013). A surname brand effect explanation for consumer brand
preference and advocacy. Journal of Product & Brand Management, 22(5/6), 362-
Kandampully, J., Zhang, T. & Bilgihan, A. (2015). Customer loyalty: a review and future
directions with a special focus on the hospitality industry. International Journal of
Contemporary Hospitality Management, 27(3), 379-414
Kotler, P. (2017). Customer Value Management. Northwestern University.
Lemon, K. N. & Verhoef, P. C. (2016). Understanding customer experience throughout the
customer journey. Journal of Marketing, 80(6), 69-96
Vivek, S. D., Beatty, S. E. & Morgan, R. M. (2012). Customer engagement: Exploring
customer relationships beyond purchase. Journal of marketing theory and
practice, 20(2), 122-146.
Webster, G. B. & Hume, M. (2016). Analysing the Role of Social Media in Dialogue
Marketing and Management a Contemporary Franchising Local Area Marketing
Technique. Competitive Social Media Marketing Strategies