Content Analysis in Floating Market Studies

Main Article Content

Proud Arunrangsiwed

Abstract

ตลาดน้ำเป็นศูนย์รวมของคนในท้องถิ่น ซึ่งพวกเขาสามารถขายสินค้า และได้รับรายได้จากนักท่องเที่ยว ดังนั้นนักวิชาการหลายท่านจึงศึกษาเกี่ยวกับตลาดน้ำ งานวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อระบุลักษณะโดยรวมของงานวิจัยในอดีตที่เกี่ยวข้องกับตลาดน้ำ  คำว่า "ตลาดน้ำ" ได้ถูกใช้เป็นคำค้นในเว็บไซต์ Tci-Thaijo.org ซึ่งถูกค้นที่ห้องสมุดแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร บทความจำนวน 34 บทความได้ถูกค้นพบและใช้เป็นกรณี (Cases) ในการวิเคราะห์เนื้อหาที่ใช้ผู้ลงรหัสจำนวน 2 คน ทั้งสองแยกกับลงรหัส 4 ตัวแปร คือ (1) วิธีการเก็บข้อมูล (2) ประเภทกลุ่มตัวอย่าง (3) สถานที่ตั้งของตลาดน้ำ และ (4) ตัวแปรหรือหัวข้อที่ถูกระบุในงานวิจัยเกี่ยวกับตลาดน้ำ ผลการวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาพบว่างานวิจัยส่วนใหญ่ใช้การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทย และสถานที่เก็บข้อมูลอยู่นอกกรุงเทพมหานคร หัวข้อการวิจัยหรือตัวแปรที่พบบ่อยคือ ส่วนผสมทางการตลาด ความสะดวกสบายของสถานที่ และการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม กับภูมิปัญญาชาวบ้าน  นักวิจัยที่จะทำวิจัยเกี่ยวกับตลาดน้ำในอนาคตควรพัฒนาเครื่องมือหรือสร้างกลยุทธ์ที่สามารถใช้ปฏิบัติได้จริงเพื่อปรับปรุงคุณภาพการสื่อสารระหว่างผู้ขายของ นักท่องเที่ยว ผู้นำชุมชน และเจ้าหน้าที่รัฐ  ตัวแปรหรือหัวข้อที่ไม่เคยถูกศึกษาควรที่จะถูกประเมินและวิเคราะห์ในอนาคต เช่น กิจกรรมการท่องเที่ยอย่างการให้อาหารปลาสวาย และกิจกรรมการทำบุญที่มีความแตกต่างจากการให้ทานปกติ

Article Details

How to Cite
Arunrangsiwed, P. (2020). Content Analysis in Floating Market Studies. Humanities and Social Sciences Journal, Ubon Ratchathani Rajabhat University, 11(1), 92–107. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/humanjubru/article/view/212467
Section
Research Article

References

กมลทิพย์ กันตะเพ็ง, และ พิทักษ์ ศิริวงศ์. (2560). Dynamic of entrepreneurial shops at Amphawa floating market, in Samutsongkhram Province: study for grounded theory. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 12(1), 81-101.
กฤตภาส บินสุอะหวา, และ ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ. (2554). การประเมินผลตลาดน้ำคลองแห. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 4(2), 59-66.
ขนิษฐา บรมสำลี, และ รัฐพล สันสน. (2560). รูปแบบกลยุทธ์การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวตลาดน้ำแบบยั่งยืน. Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 10(2), 1-22.
จัตตุรงค์ เพลินหัด. (2558). การเพิ่มศักยภาพของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (ตลาดน้ำ) ของไทยก่อนเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 1(2), 19-27.
จิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์, พัชนี เชยจรรยา, บุหงา ชัยสุวรรณ, พรพรรณ ประจักษ์เนตร, กุลฤดี นุ่มทอง, และ ขวัญชนก มั่นหมาย. (2557). การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตลาดน้ำในลุ่มน้ำภาคกลางอย่างยั่งยืน. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 1(1), 99-130.
จิรวุฒิ หลอมประโคน, ศลาฆนันท์ หงส์สวัสดิ์, และ รัชภร รุ่งตั้งธนาบุญ. (2562). ปัจจัยการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่มาตลาดน้ำทุ่งบัวแดงจังหวัดนครปฐม. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 13(2), 73-82.
จิรวุฒิ หลอมประโคน, สุรัชดา เชิดบุญเมือง, และ เพชรไทย เย็นแย้ม. (2560). Component of Marketing Factors and Tourist Behavior visiting Talingchan Floating Market. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 11(2), 58-65.
เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, เก็ตถวา บุญปราการ, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, Kathylene Remegio, และ อรุณพร อธิมาตรไมตรี. (2559). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการตลาดน้ำคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. Journal of Management Sciences, 33(1), 25-50.
ชลลดา แสงมณี ศิริสาธิตกิจ, และ ธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ. (2557). การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวตลาดน้ำภาคใต้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 6(1), 66-79.
ชัยยุทธ ถาวรานุรักษ์. (2562). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อตลาดน้ำคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 19(1), 122-135.
ชุติมา นุตยะสกุล, ประสพชัย พสุนนท์. (2559). ปัจจัยการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการท่องเที่ยวตลาดน้ำวัดลำพญา จังหวัดนครปฐม. Dusit Thani College Journal, 10(1), 132-150.
ณัฐวุฒิ สุวรรณทิพย์, ทัศนาวดี แก้วสนิท, และ กรกฎ จำเนียร. (2560). การสื่อสารการตลาดเชิงวัฒนธรรมเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมตลาดน้ำคลองแดน: ตลาดน้ำสามคลองสองเมืองของจังหวัดสงขลาและจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 15(2), 77-90.
ทากะโนริ อิชิกาวะ, และ ฉวีวรรณ เด่นไพบูลย์. (2560). การวิเคราะห์ระบบตลาดน้ำในประเทศไทยที่ยั่งยืน. วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม การผังเมือง, 14(2), 127-142.
ธิดารัตน์ ตันนิรัตร์. (2557). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวตลาดคลองสวน 100 ปี. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences: Humanities and Social Sciences SDU Research Journal, 10(2), 91-104.
ธีราภรณ์ นกแก้ว. (2555). การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กรณีศึกษาตลาดน้ำวัดไทร กรุงเทพมหานคร. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences: Humanities and Social Sciences SDU Research Journal, 8(1), 49-60.
ปนันดา จันทร์สุกรี, นลินี พานสายตา, ไพลิน เชื้อหยก, และ นิตินัย รุ่งจินดารัตน์. (2560). การจัดการความรู้ด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษาชุมชนตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(3), 49-63.
ปรียาภรณ์ เนียมนก, และ วศิน เหลี่ยมปรีชา. (2554-2555). การรวมกลุ่มของชุมชนนักปฏิบัติเพื่อสร้างรูปแบบทางการตลาดที่ยั่งยืนผ่านทฤษฎีกิจกรรม: กรณีศึกษา ตลาดน้ำอัมพวา. Journal of Business, Economics and Communications, 7(1), 29-38.
พรทิพย์ จุ้ยรอด. (2555-2556). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บริเวณตลาดน้ำโบราณบางพลี อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 31(1), 93-114.
พระครูสังฆรักษ์ทรงพรรณ ชยทตฺโต. (2560). Damnoen Saduak floating market: The Current of Management. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 2(1), 73-88.
พระครูสังฆรักษ์ทรงพรรณ ชยทตฺโต. (2562). การพัฒนาเครือข่ายสุขภาวะเชิงพุทธของชุมชนตลาดน้ําในจังหวัดราชบุรี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 7(2),379-391
พราว อรุณรังสีเวช, กิตติศักดิ์ แสงใส, พงษ์เศรษฐ ละอองพันธุ์, ภานวิทย์ ทรงธรรม, วัชพล ฉายอรุณ, เนติ แก้วสวรรค์, และ พรรณรังสี อินทร์พยุง. (2561). การปลูกจิตสำนึกเพื่อการลดการทาลายปะการังโดยใช้การเรียนผ่านสื่อแอนิเมชัน. In The 3rd Technology Innovation Management and Engineering Science International Conference (TIMES-iCON2018). Bangkok, Thailand: The Association of Thai Digital Industries & Mahidol University.
พราว อรุณรังสีเวช, และ คเณศร์ จิตต์ไทย. (2562). ผลของการใช้ภาพยนตร์ดราม่ากระตุ้นความต้องการวางแผนชีวิตของผู้ชม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2562 ความท้าทายของอุดมศึกษาในการผลิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในศตวรรษที่ 21 (หน้า 714-722) (1 กุมภาพันธ์ 2562). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
พราว อรุณรังสีเวช, และ จารุวรรณ เฉลิมบุญ. (2562). เห็นใจกันบ้าง: อิทธิพลของภาพยนตร์สร้างสรรค์ที่มีต่อความเห็นอกเห็นใจของนักศึกษาในหอพัก. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2562 ความท้าทายของอุดมศึกษาในการผลิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในศตวรรษที่ 21 (หน้า 698-704) (1 กุมภาพันธ์ 2562). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
พราว อรุณรังสีเวช, และ ชญานิน แก้วบางยาง. (2562). ผลกระทบจากภาพยนตร์สยองขวัญที่มีต่อการลดลงของความสอดรู้สอดเห็นในผู้ชม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2562 ความท้าทายของอุดมศึกษาในการผลิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในศตวรรษที่ 21 (หน้า 705-713) (1 กุมภาพันธ์ 2562). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
พราว อรุณรังสีเวช และ รตจิตร อรุณรังสีเวช. (2560). แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์และการรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์. วารสารวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2(3), 47-63.
เพ็ชราภรณ์ ชัชวาลชาญชนกิจ และ พรรณรัตน์ อาภรณ์พิศาล. (2561). The Influence of Marketing Mix to the Effectiveness Cultural Tourism in Lam Phaya Floating Market. วารสารปาริชาต, 31(3), 155-160.
มธุรา สวนศรี (2559). แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์ ตลาดน้ำ บางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 17(31), 41-55.
รัศมี อุตเสนา. (2559). ตลาดน้ำกับการทำหน้าที่พัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน. EAU HERITAGE JOURNAL Social Science and Humanit, 6(3), 58-68 .
วรุณี เชาวน์สุขุม, และ วงศ์ธีรา สุวรรณณิน. (2561). The Strategies for Sustainable Tourism Development of Cultural Floating Market: A Case Study Floating Market Samchuk, Suphan Buri Province. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(4), 123 - 135.
วันทิตา ปาลิเอกวุฒิ, และ ปิติพร มโนคุ้น. (2561). การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในคลองพระพิมลราชาบริเวณตลาดน้ำไทรน้อย อําเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิชาการ มทร. สุวรรณภูมิ, 6(1), 37-44.
ศิริรัตน์ ขานทอง, ละเอียด ศิลาน้อย, และ กันฑิมาลย์ จินดาประเสริฐ. (2562). Marketing Mix Factors that Tourists Give Precedence to Travel in Taling Chan Floating Market. วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 10(1), 42-58.
สิรัชญา วงษ์อาทิตย์, ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย์. (2559). FACTORS AFFECTING THAI TOURISTS’ DECISION MAKING IN NOSTALGIA TOURISM. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 10(1), 115-131.
สุทธยา สมสุข, สุวภัทร อำพันสุขโข, ยาภรณ์ ดำจุติ. (2561). Tourism Services of Klonghae Floating Market. วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9(1), 43-60.
อรรนพ เรืองกัลปวงศ์, และ สราวรรณ์ เรืองกัลปวงศ์. (2559). แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการของแหล่งท่องเที่ยวตลาดน้ำจังหวัดนนทบุรี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น FEU Academic Review, 10(3), 7-21.
Arunrangsiwed, P. (2013). The Effects of Website for Temples in Bangyai and Bangkruay District on Thai Tourist Attractions. In The 5th International Science, Social Science, Engineer and Energy Conference 2013 (pp. 207-211). Kanjanaburi, Thailand: Suan Sunandha Rajabhat University.
Arunrangsiwed, P. (2014). The Experimental Research Design of Animation-Based Learning Research. In The 10th National and International Social Science Symposium: Social Innovation for Sustainable Development in ASEAN Community (การประชุมสังคมศาสตร์วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10: นวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในประชาคมอาเซียน) (pp. 25-32). Chiang Rai, Thailand: Chiang Rai Rajabhat University.
Arunrangsiwed, P., Bunyapukkna, P., Ounpipat, N., & Inpayung, P. (2018). Wannabe Effect: The Study of Wishful Identification and Prosocial Media Effect. In The 3rd Technology Innovation Management and Engineering Science International Conference (TIMES-iCON2018). Bangkok, Thailand: The Association of Thai Digital Industries & Mahidol University.
Arunrangsiwed, P., Jareonpon, P., Suwan, T., Wichakam, A., Atta-Arunwong, P., Cheachainart, K., & Bunyapukkna, P. (2018). The Influence of Fan’s Superhero Preference, Superhero’s Leadership, and Ethics on Fans’ Leadership Imitation. In New York International Business and Social Science Research Conference 2018 (pp. 24-29). Long Island City, New York, USA: Australian Academy of Business Leadership.
Arunrangsiwed, P. & Srisuk, P. (2017). The Effectiveness of Learning Crisis Response Strategies through Movies. In The ICBTS 2017: International Academic Multidisciplinary Research Conference (pp. 12-19). Zurich, Switzerland: CK Research.
Nana Srithammasak, et al. (2561). The Study of Foreign Tourists Behavior towards Taling-Chan Floating Market. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 13(1), 27-35.
Varaporn Limpremwattana, และ Darika Koolkaew. (2561). องค์ประกอบของปัจจัยการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวตลาดน้ำคลองลัดมะยม. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 19(36), 41-50.