แสงสีในวัฒนธรรมล้านนา

Main Article Content

พิมพ์นิภา ก้อนคำ
ดร.กนิษฐา พวงศรี

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่องแสงสีในวัฒนธรรมล้านนา เป็นการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมที่ได้แนวความคิดและแรงบันดาลใจจากความงาม และความมีเสน่ห์ของแสงสีในเวลากลางคืนที่เกิดขึ้นภายในงานเทศกาลสีสันของการจัดงานประเพณีสลากย้อม ณ วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร จังหวัดลำพูน  ผู้วิจัยจึงนำมาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างผลงานศิลปะ โดยผ่านการถ่ายทอดผ่านผลงานจิตรกรรมในรูปแบบกึ่งนามธรรม โดยใช้ทฤษฎีสี มาถ่ายทอดเรื่องราว สีสันของงานประเพณี เพื่อเป็นประโยชน์ต่อตนเองในการพัฒนาการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในอนาคต และผู้ที่สนใจในการศึกษาศิลปะต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จักรพงษ์ คำบุญเรือง. (2561). ประเพณีตานสลากเมืองลำพูน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/520543/.

เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. (2540). องค์ประกอบศิลป์ 1. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง.

มณี พยอมยงค์. (2537). ประเพณีสิบสองเดือนล้านนาไทย. เชียงใหม่ : ส.ทรัพย์การพิมพ์.

สมพร รอดบญุ . (ม.ม.ป.). ที่มาของการสรางสรรคศิลปะของศิลปน. [ม.ป.ท.]

สมภพ จงจิตติ์โพธา. (2562). จิตรกรรมสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์.

สุชาติ เถาทอง. (2536). หลักการทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : อักษรกราฟฟิค.