ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู อำเภอเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู
คำสำคัญ:
ความพึงพอใจ, การให้บริการ, การป้องกัน, บรรเทาสาธารณภัย, เทศบาลเมืองหนองบัวลำภูบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจและข้อเสนอแนะของประชาชนต่อการให้บริการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู อำเภอเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรในเขตเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จำนวน 393 คน นำมาวิเคราะห์ประมวลผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 393 คน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีสถานภาพเป็นเพศชาย จำนวน 205 คน คิดเป็นร้อยละ 52.16 รองลงมาเป็นเพศหญิง จำนวน 188 คน คิดเป็นร้อยละ 47.84 มีอายุ 21 – 40 ปี จำนวน 144 คน คิดเป็นร้อยละ 36.64 มีระดับการศึกษา มัธยมศึกษาหรือ ปวช. จำนวน 169 คน คิดเป็นร้อยละ 43.0 ประกอบอาชีพอิสระ จำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 26.21
ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู อำเภอเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู อำเภอเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู ในแต่ละด้านพบว่า 1) ด้านความรวดเร็ว อยู่ในระดับ มาก 2) ด้านการดูแลเอาใจใส่ อยู่ในระดับ มาก 3) ด้านความเสมอภาค อยู่ในระดับ มาก
References
ณัฐพร ปิ่นประภา, และธรรมนิตย์ วราภรณ์.(2554). ความพึงพอใจในการบริการงานทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของเทศบาลเมืองนครพนม จังหวดนครพนม. สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพ : วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา.
เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู.(2558). แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2558 – 2560).
พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.(2550) ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 52 ก.
พีระพงค์ อมรพิชญ์.(2556). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการของเทศบาล: กรณีศึกษา เทศบาลในจังหวัดเชียงราย. การศึกษาค้นคว้าอิสระ. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
วรอนงค์ โถทองคำ.(2553). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลนครนครราชสีมา. รายงานการวิจัย. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.