ความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน เทศบาลตำบลจอมทอง อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ตั้งวัตถุประสงค์ของการวิจัยไว้ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานเทศบาลตำบลจอมทอง อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานเทศบาลตำบลจอมทอง อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะความคิดเห็นของบุคลากรต่อการใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานเทศบาลตำบลจอมทอง อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรบุคลากรในสังกัดเทศบาลตำบลจอมทอง อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู จำนวน 95 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมาน (Inferential Statistics) ได้แก่ ค่า ไค-สแคว์ (Chi-Square Test) ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวแปร
References
จรัญญา เนื่องโนราช. (2554). การดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรบรบือ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม. การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จิราพร ผิวสอาด.(2553). การนำหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในการบริหารงานของผู้บริหารเทศบาล ตำบลสุวรรณ-ภูมิ อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สารนิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหา มกุฏราชวิทยาลัย.
ดาบตำรวจณัชพน กัญญภัคชัญปภัช. (2557). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสถานีตำรวจภูธรเมืองลำพูน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2546). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาระบบและกลไกของการตรวจสอบของการบริหารราชการแผ่นดิน โครงการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาระบบตรวจสอบการบริหารราชการแผ่นดิน. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
นฤมล ทับจุมพล. (2541). แนวคิดและวาทกรรมว่าด้วย “ธรรมรัฐแห่งชาติ” ในการจัดการปกครอง. (Governance), บรรณาธิการ ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล, กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บวรศักดิ์ อุวรรโณ. (2545). Good Governance การบริหารการปกครองที่โปร่งใสด้วย จริยธรรมธรรมา- ภิบาล. กรุงเทพมหานคร : น้ำฝน.
บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ, ดร.และ บุญมี ลี้. (2544). ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล. สถาบันพระปกเกล้ากรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว.
ประมวล รุจนเสรี. (2541). “Good Governance การบริหารที่ดีในนายอำเภอในฝัน”. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท.
โภคิน พลกุล และชาญชัย แสวงศักดิ์. (2541). กฎหมายมหาชนกับการปฏิรูประบบราชการในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร : นิติธรรม.
พระปิยวัฒน์ ปิยสีโล. (2554). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองแพร่ จังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาณรงค์ ปญญาวุฑฺโฒ (โหลแก้ว). (2553). หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารการศึกษา ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาศุภชัย สุวโจ (เกี้ยงกรแก้ว). (2554). การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลพยัคฆภูมิพิสัย อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระสุรศักดิ์ มหาปุญฺโญ (จันทบัตร). (2556). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขนาดกลางขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตพื้นที่ตำบลตะเคียนเลื่อน อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระอธิการวีระพันธ์ กลฺยาณธมฺโม (สุริเตอร์). (2553). ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารขององค์การบริหารส่วนตำบลโนนเพ็ก อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
รัชนา ศานติยานนท์. (2544). รูปแบบใหม่ของการบริหารจัดการที่ดีในมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ. (2543). คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ พ.ศ.2540-2543. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2542). ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542, กรุงเทพมหานคร : สำนักนายกรัฐมนตรี.
สุดจิต นิมิตกุล. (2543). กระทรวงมหาดไทยกับการบริหารจัดการที่ดี การปกครองที่ดี (Good Governance). กรุงเทพมหานคร : บพิธการพิมพ์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.