คุณภาพชีวิตของผู้เรียนกับการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
คุณภาพชีวิตของผู้เรียน, การจัดการเรียนรู้, ยุคดิจิทัลบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ กล่าวถึงคุณภาพชีวิตของผู้เรียน (Quality of Life) กับการจัดการเรียนรู้ (Learning Management) ในยุคดิจิทัล (Digital Age) ซึ่งความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของผู้คนในสังคม วิถีชีวิตต้องปรับเปลี่ยนไปตามบริบทแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ฉับพลัน ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้เรียน ที่ต้องมีการปรับตัวให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในโลกยุคดิจิทัลได้อย่างมีความสุข การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนเพื่อให้สามารถรับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้น ต้องมีการปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะสมทันสมัย ทันต่อความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การพัฒนาทักษะทางด้านการแก้ปัญหา การพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะชีวิต มีทักษะความเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์และสรรสร้างนวัตกรรม การเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะการใช้เทคโนโลยี การพัฒนาทักษะการสื่อสาร การรู้เท่าทันสื่อ การปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงและการยอมรับความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรมและความคิดเห็น การพัฒนาทักษะการทำงานเป็นทีม การพัฒนาทักษะอาชีพ การพัฒนาทักษะทางด้านการอ่าน การเขียนและการคิดคำนวณ การวางแผนจัดสรรเวลาหรือการบริหารเวลาให้เหมาะสมสำหรับการใช้ชีวิต การเรียน การทำงาน การพัฒนาผู้เรียนทางด้านคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียน ให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ในโลกยุคใหม่ได้อย่างมีความสุขตามศักยภาพของตนเอง ทั้งนี้คุณภาพชีวิตของผู้เรียนมีอิทธิพลส่งผลต่อการเรียนรู้และคุณภาพการศึกษาโดยตรง
References
ทักษิณา ข่ายแก้ว. (2561). เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียเมื่อเปิดประตูเช้าสู่โลกอินเตอร์เน็ต. สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2561, จาก https:// www.voathai.com/a/children-digital-world-i
ทรูปลูกปัญญา. (2557). คุณภาพชีวิตหมายถึงอะไร. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2561, จาก www.trusylookyanya.com>questiondetail
เทเวศร์ พิริยะพฤนท์. (2552). คุณภาพชีวิต. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2561, จาก https:sites.google.com>site>schandenfr
บุญทรัพย์ นามเกษม. (2558). การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนขาดโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1-7. สิกขาวารสารศึกษาศาสตร์, 2 (2) : 58-67.
ประสิทธิ์ เรืองแสงอร่าม. (2560). คุณภาพชีวิตนักเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักงานการศึกษาพิเศษ, Viridian E-Jounal, Silpakorn University, 10(2), 546-557.
ระวิวรรณ ศรีคร้ามครัน. (2550). “การจัดการเรียนรู้” สารานุกรมวิชาชีพครูเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี. น. 47-54. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
วนิดา นาบุญ. (2558). การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาการดำเนินการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา. สิกขาวารสารศึกษาศาสตร์, 2(2), 25-34.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2559). กระบวนทัศน์การประเมินผลการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สิกขาวารสารศึกษาศาสตร์, 3 (1) , 3-6.
ศิรินันท์ กิติสุขสถิตย์, เฉลิมพล แจ่มจันทน์, กาญจนา ตั้งชลทิพย์, และจรัมพร โห้ลำยอง. (2557). คุณภาพชีวิต การทำงานและความสุข. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : บริษัท อัพทรูยูครีเอทนิว จำกัด.
“สื่อดิจิทัลคืออะไร”. (2559). สื่อดิจิทัลคืออะไร. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2561, จาก sai23734.blogspot.com.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2560). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2561, จาก www.nesdb.go.th>download>pla
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน : ก.พ. (2560). Digital Literacy คืออะไร. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2561, จาก https : www.ocse.go.th>mean-dlp
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช). (2558). การรู้ดิจิทัล (Digital literacy). สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2561, จาก
https://www.nstda.or.th/nstda-knowledge/142-knoeledges/2632
อลงกต ยะไวท์, ณัฐวัฒน์ วงษ์ชวลิตกุล และอัจฉราพร โชติพฤกษ์. (2561). การสร้างระบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. สิกขาวารสาร ศึกษาศาสตร์, 5(1) , 18-33.
Daily Technology. (2558). องค์ประกอบของคุณภาพชีวิตที่ดี. สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2561, จากwww.dailytech.in.th
Walton, Richard, E. (1974). “Improving the Quality of Work Life”. Harvard Bussiness Review (May-June 1974) : 12-16.
Wikipidia. (2561). ความหมายของดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2561, จาก https://th.m.wikipedia.org>wiki>
WICE Logisties. (2561). ยุคดิจิทัล 4.0 เมื่อโลกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2561, จาก www.wice.co.th.>Digital-4.0-technology
World Bank. (2016). แนวคิดสำหรับประเทศไทยในการเข้าสู่ยุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2561, จาก blogs.worlbank.org>node
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.