ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคต่อธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กรณีศึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
คำสำคัญ:
1) ความเชื่อมั่น 2) ผู้บริโภค 3) ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 4) ปัจจัยภูมิหลัง 5) การฉ้อโกงบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
ในโลกยุคปัจจุบันที่เทคโนโลยีและอินเตอร์เน็ตมีความสำคัญกับชีวิตประจำวัน ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับการยอมรับ เป็นที่รู้จักและมีบทบาทมากขึ้นในสังคมยุคปัจจุบัน คนส่วนใหญ่หันมาเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ เนื่องด้วยสภาพสังคมที่เร่งรีบ ผู้บริโภคมีเวลาเลือกซื้อสินค้าน้อยลง มีช่องทางการชำระเงินมากมายที่สะดวก รวดเร็ว และผู้บริโภคสามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้ง่ายมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความนิยมแพร่หลายและเติบโตอย่างรวดเร็ว อีกทั้งรัฐบาลให้ความสำคัญกับนโยบาย Thailand 4.0 กระตุ้นให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างมีคุณภาพ ดังนั้นความเชื่อมั่นของผู้บริโภคถือเป็นหัวใจสำคัญที่จะทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบผลสำเร็จ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อมั่นต่อธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และระดับความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่มีต่อธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนเพื่อแสวงหาแนวทางที่จะส่งเสริมมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฉ้อโกงในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
References
กัลยา ลี่เจี๊ยะ. (2556).กระแสโลกาภิวัฒน์.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559, จาก
http://is2globalization.blogspot.com/2013/03/globalization.html.
กาญจนวรรณ จารุพัฒนากุล. (2553). การศึกษาความเชื่อมั่นบริการชำระสินค้าผ่านระบบมือ
ถือและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเชื่อมั่น, วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กิตติ ภักดีวัฒนะกุลและทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. (2547).คัมภีร์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(E-COMMERCE).กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์แอนด์ คอนซัลท์.
กิตติ สิริพัลลภ. (2543). การตลาดอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Marketing), วารสาร
บริหารธุรกิจ 87,(กรกฎาคม-กันยายน หน้า : 43-56).
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระยะ พ.ศ.2554-2563 ของประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่1: กรุงเทพฯ.
เครือข่ายกฎหมายมหาชนไทย. (2557).พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.
๒๕๔๕.สืบค้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2559,จากhttp://www.pub-law.net/library/act_drsale.html.
จำลองลักษณ์ อินทวัน. (2558).ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของประชาชนในกระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญา, วารสารกระบวนการยุติธรรม ปีที่ 8 เล่มที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม: 48-50
ฉัทปณัยรัตนพันธ์. (2547). อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ : ศึกษาการกำหนดฐานความผิด
และการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์:สารนิพนธ์นิติศาตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชนาธิป อ่อนหวาน. (2553). ความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่มีผลต่อแนวโน้มพฤติกรรมการ
ซื้อสินค้าที่มีฉลากคาร์บอนของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร,ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ตลาดของไทยคืออะไร.สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2559, จาก
http://guru.sanook.com/984/.
ธนพล สมัครการ. (2550). ความรู้ความเข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหลังเข้าร่วมโครงการ
ประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ : ศึกษากรณีผู้เข้าอบรมพลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ กรมขนส่งทาง อากาศ กองบัญชาการสนับสนุนทหารอากาศ, ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
นัยนรัตน์ งามแสง,ร.ต.ท.. (2547).อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ : ศึกษาเฉพาะกรณีปัจจัยที่มี
ผลต่อการเกิดปัญหาอาชญากรรมบนอินเตอร์เน็ต, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารงานยุติธรรม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บก.ปอท. คือหน่วยงานใดและมีหน้าที่อะไร. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561, จาก
http://www.wikibuster.org/%E0%B8%9A%E0%B8%81-%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%97-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A1/
ปฐมพงษ์ศิลปสุข, พ.ต.ต. แฉกลลวงเตือนผู้ใช้พึงระวังตกเป็นเหยื่ออาชญากรตุ๋นโลกไซเบอร์.
สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2561, จากhttps://www.thairath.co.th/content/697968.
ปัทมพร คัมภีระ. (2557). พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางผ่านเว็บไซต์เฟสบุ๊คของนักศึกษา
หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร, ปริญญานิเทศศาตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ปัทมาภรณ์ กฤษณายุทธ. (2551). ความผิดฉ้อโกง : ศึกษากรณีการหลอกลวงทาง
อินเตอร์เน็ต, วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปริญญา ปานะกุล. (2544). การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมผู้บริโภคในการ
ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์(Internet), งานวิจัยเฉพาะกรณีวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารโทรคมนาคม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปริยะ คำพิมเลิศวัฒนะ. วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.สืบค้นเมื่อวันที่1 เมษายน
2559, จากhttp://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/9_2.html.
ปาริฉัตร ตั้งพันธ์ประเสริฐ. (2550). ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์การกับผลการปฏิบัติงาน
ของพนักงาน : กรณีศึกษาพนักงานของบริษัท เธียรสุรัตน์ จำกัด, สารนิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
เปิดใจวัยโจ๋. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561, จาก
http://www.nationejobs.com/content/manage/concept/template.php?conno=181.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550.สืบค้นเมื่อวันที่
8 มิถุนายน 2559, จาก http://www.moi.go.th/image/rule_computer/law-comter1.pdf.
ภานุวัฒน์ กลับศรีอ่อน. (2550).การกำกับดูแลสื่ออินเตอร์เน็ตในประเทศไทย, สารนิพนธ์
วารสารศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มนัสวี ลิมปเสถียรกุล. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการตัดสินใจของผู้บริโภคสินค้า
ออนไลน์ : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มนักศึกษาและกลุ่มวัยเริ่มต้นทำงาน, การศึกษาอิสระหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการตลาด), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รัฐวัชร์พัฒนจิระรุจน์. (2557).ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค.สืบค้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2559,
จากhttp://poundtv5.blogspot.com/2014/10/theory-of-consumer-behavior.html.
วัชระพงศ์ ยะไวทย์. (2543). กลยุทธ์ทางรอดและความสำเร็จบนe-company.com.,
กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.ตลาด. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559, จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.โลกาภิวัตน์.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559, จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%8C.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. อินเตอร์เน็ต. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2559, จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B9%87%E0%B8%95.
วิธีการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.สืบค้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2559, จาก
http://www.ireadyweb.com/howtoecommercewebsite.php.
วิวัฒนาการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559,
http://ecommerce.exteen.com/20050511/entry-1.
วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ ร.น.,นาวาตรี ดร.และทีมงานวิชาการ. (2544).E-commerceการค้า
อิเล็กทรอนิกส์ด้วยตัวคุณเอง, กรุงเทพฯ.
ศันย์จุฑา ชินประพันธ์. (2556).ทัศนคติที่มีต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์(E-Commerce) ของ
ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร, รายงานผลการวิจัย, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิริลักษณ์ โรจนอำนวย,รศ. (2545).ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
แบบธุรกิจกับผู้บริโภคของไทย, รายงานผลการวิจัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศรีวรรณ สวัสดิ์อำไพรักษ์. (2544).การศึกษาความต้องการของผู้บริโภคต่อบริการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, งานวิจัยวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารโทรคมนาคม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศีลวัต ศรีสวัสดิ์. (2552).ความรู้ความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้ที่มีภูมิลำเนา
ในเขตกรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธ์วิทยาศาตร์มหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. (2546).รายงานการศึกษาเรื่องทรัสมาร์คในธุรกิจพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์.พิมพ์ครั้งที่1, กรุงเทพฯ : จิรรัชการพิมพ์.
ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สคบ. 1166. (2556). สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2559, จาก
https://iphonnn.wordpress.com/2013/02/19/%E0%B8%A8%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2-2.
สมเกียรติ ตั้งกิจวาณิชย์. (2542).สถานภาพของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย,
รายงานวิจัย, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,พฤษภาคม.
สมาคมการขายตรงไทย. การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ตเป็นธุรกิจตลาดแบบตรงที่ต้องจด
ทะเบียนต่อ สคบ.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559, จากhttp://www.tdsa.org/content/485/1/.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). พระราชบัญญัติว่าด้วย
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2559, จากhttps://www.etda.or.th/files/1/files/26.pdf.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2552).วิเคราะห์สถิติe-commerceเปรียบเทียบไทยกับ
ต่างประเทศ, พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดบางกอกบล็อก.
อับดุลรอฮิม สาเม๊าะ. พฤติกรรมการบริโภคเสื้อผ้ามือสองของเยาวชนมุสลิม. สืบค้นเมื่อวันที่
5 กันยายน 2561, จาก http://dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//00401/Chapter2.pdf.
Boon & Holmes. (1991). The Dynamics of Interpersonal Trust : Resolving
Uncertainity in the face of Risk. Cambridge University Press : 190-211.
Ira Sharkansky. (1970). Policy Analysis in Political Science, Chicago .
Larzelere& Huston. (1980). The Dyadic Trust Scale : Toward Understanding
Interpersonal Trust in Case Relationships. Journal of Marriage and Family 42(3) : 595.
Mayer, Davis &Schoorman. (1995). An Integrative Model of Organizational
Trust. The Academy of Management Review, Vol.20, No.3 (Jul,.1995) : 709-734.
Moorman, Deshpande &Zaltman. (1992). Affecting Trust in Market Research.
Journal of Marketing ,Vol.57,No.1 (Jan.,1993), : 81-101.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.