ปัจจัยที่เป็นปัญหาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสังฆาธิการ: ศึกษาเฉพาะกรณีพระนักศึกษาหลักทางไกลมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน รุ่น 1-4
คำสำคัญ:
ปัจจัยที่เป็นปัญหา, การเผยแผ่พระพุทธศาสนา, การบริหารกิจการพระพุทธศาสนาบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสถาบัน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นปัญหาในการเผยแผ่พระศาสนาของพระสังฆาธิการ ซึ่งเป็นพระนักศึกษา หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิตสาขา วิชาการบริหารกิจการพระพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน รุ่นที่ 1-4 ระดับปริญญาตรี 2) เพื่อศึกษาวิธีการแก้ปัญหาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พระสังฆาธิการ จำนวน 53 รูป ตามตารางของเคร็คซีและมอร์แกน สุ่มอย่างง่ายโดยวิธีจับฉลากใช้แบบสอบถาม และนำข้อมูลที่ได้มาประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1) ปัญหาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสังฆาธิการ โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ปัญหาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้านที่ปัญหามากที่สุดคือ ด้านอุดมการณ์ และปัจจัยที่เป็นปัญหาน้อยที่สุดได้แก่ด้านงบประมาณ
2) วิธีการแก้ปัญหาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้แก่ พระสังฆาธิการควรทำตนเป็นตัว อย่างในด้านความมีคุณธรรม ต้องออกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามสถานที่ต่างๆ ที่ได้รับนิมนต์ โดยการเผยแผ่แบบเชิงรุกมากกว่าที่เป็นอยู่ และสอนถึงความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อคนทุกกลุ่ม และความมั่นคงของศาสนาพร้อมกับมีจิตเมตตาในการช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นทุกข์ตามความสามารถของแต่ละคน โดยใช้รูปแบบการเผยแผ่แบบต่างๆ ปาฐกถา สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศนูปกรณ์ นอกจาก นั้น รัฐบาลควรเพิ่มนิตยภัตและเงินสมนาคุณ และเอกชนหรือประชาชน ควรบริจาคทรัพย์สินอื่นๆ ให้แก่พระสังฆาธิการที่ออกไปเผยแผ่ด้วย
คำสำคัญ: ปัจจัยที่เป็นปัญหา, การเผยแผ่พระพุทธศาสนา, การบริหารกิจการพระพุทธศาสนา
References
ขุ.ธ.อ. (บาลี) 2/149-151.
ที.ม.(ไทย) 4/32/40.
ที.ม.(บาลี)4/32/38.
พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ข้อ 247.
ม.ม.(ไทย) 13/387/481.
อง.จตุกฺก.21/111/237.
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, แผนพัฒนาส่งเสริมคุณธรรมเสริมสร้างความสมานฉันท์ตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข พุทธศักราช 2551, พิมพ์ครั้งที่ 3, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2550.
กำพล สิงหรัตน์, “การบริหารงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง”, การศึกษา
ค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา),
2545.
เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง, การบริหารทรัพยากรมนุษย์ , (ขอนแก่น:โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา) 2543.
จารัญ กาอินทร์. “ปัญหาการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น:
กรณีศึกษาโรงเรียนในอำเภอเมืองปาน จังหวัดเชียงใหม่”, วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์
มหาบัณฑิต, (วิชาเอกหลักสูตรและการสอน), (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่),
2539.
ชาญชัย อาจินสมาจาร, หลักการสอนทั่วไป (กรุงเทพฯ: บริษัทรวมสาส์น(1977)จำกัด), 2547.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์, การจัดการทรัพยากรมนุษย์, (กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด
มหาชน), 2546.
ณัฐนันท์ ประกายสันติสุข, “ศึกษาประสิทธิผลของการสื่อสารในการเผยแผ่ธรรมะ หลักสูตรการ
พัฒนาจิตให้เกิดปัญญาและสันติสุข”, วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิต
วิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 2541.
ทรงศักดิ์ พลดาหาญ, “การพัฒนาระบบการเงินของสถาบันราชภัฏเลย”, วิทยานิพนธ์ศิลป
ศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น), 2543.
ธานี กลิ่นเกสร, “ผลการฝึกอบรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาหิริโอตตัปปะและทัศนคติต่อ พุทธศาสนาของนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง”, วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
(การมัธยมศึกษา), (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร),
2536.
นงเยาว์ ชาญณรงค์ ผ.ศ., ศาสนากับสังคม, พิมพ์ครั้งที่ 2, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง), 2536.
บรรพต วีระสัยและคณะ, รัฐศาสตร์ทั่วไป, (กรุงเทพฯ: บริษัท ประชาชน จำกัด) 2532.
ฝ่ายฝึกอบรม กองแผนงาน กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, คู่มือพระสังฆาธิการ ว่าด้วยเรื่อง
การคณะสงฆ์และการศาสนา, พิมพ์ครั้งที่ 1, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา),
2549.
พระครูศรีปริยัติวิกรม (วัชรพงษ์ ทินฺนาโภ), ศึกษาเทคนิคและรูปแบบการเผยแผ่พุทธธรรมของ
พระเทพสิงหบูรพาจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม), วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
(ธรรมนิเทศ), (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), 2546.
พระเทพดิลก(ระแบบ ฐิตญาโณ), ในการเผยแผ่พุทธศาสนา, (กรุงเทพฯ: บริษัท แปดสิบเจ็ด
(2545), จำกัด 2549.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประชาชน, (กุรงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), 2538.
พระธรรมวิสุทธิกวี, (พิจิตร ฐิตวณฺโณ), คนไทยกับงานเผยแผ่พระพุทธศาสนา, (กรุงเทพฯ: โรง
พิมพ์ชวนพิมพ์), 2546.
พระธวัช ธนิสฺสโร (อินทะไชย), “การศึกษาชีวิตและงานการเผยแผ่พุทธศาสนาของพระภาวนา
วิสุทธาจารย์ (ทองใบ ปภสฺสโร)”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, ( บัณฑิต
วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ), 2549.
พระปลัดสามารถ ธมฺมธาโร (ชีวะพฤกษ์), “บทบาทการเผยแผ่พุทธศาสนาของพระอุบาลีคุณูปมา
จารย์(ปัญญา อินฺทปญฺโญ)”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), 2549.
พระมหาจรูญ ปญฺญาวโร (อินทร์ยงค์), “การศึกษาบทบาทของพระมหากัสสปเถระในการเผยแผ่
พระพุทธศาสนา”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), 2540.
พระมหาทองเลื่อน ทกฺขชโย , วารสารบัณฑิตศาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548.
พระมหาบุญเลิศ ธมฺมทสฺสี (โอฐสู), “ศึกษาวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระราชวิทยาคม
(หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ)”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), 2543.
พระมหาศักดิ์พิชิต ฐานสิทฺโธ (ชัยดี), ศึกษาบทบาทการเผยแผ่พุทธธรรมของพระวิสุทธาธิบดี
(วีระ ภทฺทจารี), วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), 2549.
พระมหาสนั่น อุตฺตมเสฏโฐ (ประเสริฐ), “(กระบวนเผยแผ่พุทธธรรมของพระธรรมทูต: ศึกษา
เฉพาะกรณี พระธรรมทูตอำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ)”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร
มหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), 2549.
พระราชวรมุนี(ประยุทธ์ ปยุตฺโต), สถาบันสงฆ์กับสังคมไทย (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมล
คีมทอง), 2527.
พระวุฒิกรณ์ วุฑฺฒิกรโณ (พรมพิมพ์), “ศึกษาเทคนิคและวิธีการเผยแผ่พุทธธรรม ของพระราช
วรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), 2543.
พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร์ สระคำ) และจำลอง สารพัดนึก รศ. ดร., พจนานุกรมบาลี-ไทย สำหรับ
นักศึกษาฉบับปรับปรุงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 3, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทประยูรวงศ์พริ้น
ติ้ง), 2538.
พันเอกปิ่น มุทุกันต์, บันทึกธรรม, (กรุงเทพมหานคร: พับลิเคชั่นเซนเตอร์), 2518.
พิสิฐ เจริญสุข, คู่มือการเผยแผ่พระพุทธศาสนา, พิมพ์ครั้งแรก, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
การศาสนา), 2539.
ไพรัตน์ ญาติฉิมพลี, “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชาพระพุทธศาสนา โดยการสอนแบบ
ไตรสิกขากับการสอนตามคู่มือครู”, วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
(การมัธยมศึกษา), (มหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร), 2540.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, คู่มือหลักสูตรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
บริหารกิจการพระพุทธศาสนา 2547, (ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์), 2547.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, คู่มือประกันคุณภาพ, (กรุงเทพฯ: สำนักงาน
ประกันคุณภาพการศึกษา), 2544.
ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, (กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์
พับลิเคชั่นส์), 2542 .
วรเทพ เวียงแก, ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของนักศึกษาบรรพชิต
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2549: ศึกษาเฉพาะกรณีวิทยาเขตอีสาน จังหวัด
ขอนแก่น, (สถาบันวิจัยญาณสังวร: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย), 2549.
วศิน อินทสระ, การเผยแผ่ศาสนา, พิมพ์ครั้งที่ 1, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กิตติวรรณ), 2536.
ศิริพร แย้มนิล ดร. และคณะ “ศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาและเผยแผ่ศาสนธรรมศึกษาเฉพาะ
กรณี วัดปัญญานันทาราม อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี” รายงานการวิจัย
โครงการนำร่องการจัดการศึกษาและเผยแผ่ศาสนธรรมในพระพุทธศาสนา สำนัก
เลขาธิการสภาการศึกษา สกศ.อันดับที่ 74/2548, พิมพ์ครั้งที่ 1 (กรุงเทพมหานคร: ห้าง
หุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์ 2548.
สถาบันส่งเสริมและพัฒนาการพระศาสนาสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, คู่มือพระสังฆาธิ
การ, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ), 2548.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก, พุทธวิธีสอนจากพระไตรปิฎก, (กรุงเทพฯ: บริษัท เพชรรุ่งการพิมพ์ จำกัด),
2540.
Amnuay Tapingae.(1973)"A Comparative Study of Education PhiloSophies of America idealist and
Therravada Buddhism”, The Buddhist Theories of the Learner and of the Teacher in
Education in Thailand. Some Thai Perspectives. Washington D.C., U.S.
Department of Health Education and Welfare.
As Hornby, Oxford Advanced Learner’s Dictionary of Current English, the fifth Impression,
(London: Oxford University Press), 1988.
Sakda Prangpatanporn,(1978) “A Buddhist Philosophy of Education: With lmplications for
Education in Thailand”, Doctor’s Thesis, (Boston College),1978.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.