การพัฒนาโปรแกรมเสริมความรู้สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ

ผู้แต่ง

  • คัมภรีภาพ คงสำรวย

คำสำคัญ:

: การพัฒนาระบบ, การพัฒนาโปรแกรม, ทฤษฏีการเรียนรู้, สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทสำคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศในทุกๆด้านและมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตของผู้คน การติดต่อสื่อสาร การเรียนรู้ การเดินทางและการรับข้อมูล เป็นต้น  ทางรัฐบาลประเทศไทย  ได้ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก จึงได้ทำการจัดตั้งนโยบาย

ไทยแลนด์ 4.0 เป็นโมเดลในการพัฒนาประเทศ ด้วยเล็งเห็นถึงความสำคัญว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นได้ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา นับว่ามีส่วนสำคัญในการพัฒนาคน ซึ่งจะเป็นตัวจักรสำคัญในการพัฒนาประเทศ

          ดังนั้นการพัฒนาสื่อการสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนรู้ จึงสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิผลการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม บทความนี้จึงมุ่งหมายเพื่อนำเสนอแนวคิดทฤษฏีการเรียนรู้และกระบวนการในการพัฒนาโปรแกรมเสริมความรู้สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษอย่างเป็นระบบ

References

กานต์ชนิต. (2556). การพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษ สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎกาฬสินธุ์ รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. [ขอนแก่น] : วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นันทนา รณเกียรติ. (2554). สัทศาสตร์ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2 .กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปรารมภ์รัตน์ โชติกเสถียร. (2554). การออกเสียงสระและเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษ.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภัททิรา, & ธารี, บ. (2553). สร้างสรรค์สื่อการเรียนการสอน CAI Authorware 7. กรุงเทพฯ : เสริมวิทย์ อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลยี่.
วรัตธนันท์ รักษ์วิเชียร. (2554). สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่ 3 : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
รามคำแหง.
ศิตา เยี่ยมขันติถาวร. (2555). ความรู้เบื้องต้นที่ครูสอนภาษาอังกฤษควรรู้เกี่ยวกับการออกเสียง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อมร ทวีศักดิ์ (2542). สัทศาสตร์. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท
มหาวิทยาลัยมหิดล.
อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล. (2547). สัทวิทยา การวิเคราะห์ระบบเสียงในภาษา : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อัธยา เอมแย้ม. (2555).การพัฒนาสื่อประสมเชิงโต้ตอบเรื่อง Prefix-Suffix ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 : การศึกษาอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อนุชา โสมาบุตร. (2556). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory). สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/
constructivist-theory
เนาวนิตย์, ส. (2556). การสร้างนวัตกรรม : เปลี่ยนผู้เรียนให้เป็นผู้สร้างนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Costa, A. and Kallick, B. (2012). 21st century learning. Preparing students for complex futures.Retrieved July 9, 2015, from http://www.teachthought.com
/uncategorized/21st-century-learning-preparing-students-for-complex-futures/
Kelly,G. (2003). How to teach pronunciation. Malasia: Longman.Ladeforged, P.(2006). A course in Phonetics (5th ed.) United States of America: Thomson Wadsworth.

Jukes, I. & Dosaj,A. (2006). Understanding digital children (DKs): Teaching &
learning in the new digital landscape. Retrieved June 12, 2015, from https://edorigami.wikispaces.com/file/view/Jukes+-+Understanding
+Digital+Kids.pdf

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2016-12-31