A study of condition, problem, and solution of the academic operations on enhancing the desired characteristics of students in schools under the Office of Phranakhon Si Ayutthaya Primary Education Service Area 1.
คำสำคัญ:
condition , problem, desired characteristics of studentsบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 2) เพื่อศึกษาปัญหาการดำเนินงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการดำเนินงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้รักษาราชการแทนผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 115 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามประแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.992 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1) สภาพการดำเนินงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 โดยภาพรวมมีผลการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยรายการเรียงตามลำดับจากค่าสูงมาต่ำ คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการนิเทศการศึกษา และรายการที่มีค่าต่ำ คือ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2) ปัญหาการดำเนินงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน โดยเรียงตามลำดับจากค่าสูงมาต่ำ คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน ซึ่งเท่ากันกับด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และรายการที่มีค่าต่ำ คือ ด้านการวัดผลประเมินผล
3) แนวทางแก้ไขปัญหาการดำเนินงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ตามประเด็นสำคัญ มีดังนี้ 1) ด้านการพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วย 8 แนวทาง 2) ด้านการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย 9 แนวทาง 3) ด้านการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา ประกอบด้วย 8 แนวทาง 4) ด้านการพัฒนาส่งเสริมแหล่งเรียนรู้ ประกอบด้วย 10 แนวทาง 5) ด้านการนิเทศการศึกษา ประกอบด้วย 12 แนวทาง 6) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย 7 แนวทาง และ7) ด้านการวัดผลประเมินผล ประกอบด้วย 7 แนวทาง
References
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 4. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
จิติมา วรรณศรี. (2557). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. พิษณุโลก:รัตนสุวรรณการพิมพ์ 3.
จิตติพงษ์ กาติวงศ์. (2553).สภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในฝันสังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาอุดรธานี หนองคาย และหนองบัวลำภู.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ตรีโชค กางกั้น. (2552).สภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสิงห์บุรี.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
บริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
นิพนธ์ ยศดา. (2556). การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงระสงค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
จัดการการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
บูชา ศรีสร้อย. (2551).สภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
ศึกษาสกลนคร เขต 3.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา,
มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ:ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
ปรียาภรณ์ เชียงเครือ. (2552). การพัฒนาการดำเนินงานเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
โรงเรียนบ้านคลองกุ่ม จังหวัดนครราชสีมา. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยสารคาม.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2555). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน(พิมพ์ครั้งที่ 6) .สงขลา:นำ
ศิลป์.
เรวดี เถาสุด. (2553). การศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนกลุ่มกรุงเทพ
เหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ละมัย บัวบาง. (2552). การพัฒนาการดำเนินงานเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนบ้าน
Anthony, Mary Christine Jackson. (2002). “An Investigation of the Efficacy of a Character
Education Program in a Rural Middle School,” Dissertation Abstracts International
63(04) : 1240-A ; October.
Royal, Janell Klingner. (2004). “The Identification of Student Discipline Problems Resulting in
In-School and Out-of-School Suspension by Comparing Gender and Grade Level of
High School Students,”Dissertation Abstracts International.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.